ผู้เขียน หัวข้อ: ความคืบหน้าแวดวงยานยนต์ พลังสะอาด 2564  (อ่าน 1687 ครั้ง)

ออฟไลน์ bahamu

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 685
ยาน มาจาก ยานะ แปลว่า เครื่องพาไป
ยนต์ มาจาก ยันตรา แปลว่า เครื่องกล
ยานยนต์ แปลว่า เครื่องกลที่พาไป
วิมาน มาจาก วิมานะ แปลว่า เครื่องบิน

รถไฟtgv หรือ เตเฌเว รุ่นสี่ กำลังประกอบเพื่อเดินรถช่วงโอลิมปิค2024 ที่ปารีส
ถือเป็นรถไฟหัวกระสุนเดินรถเร็วที่สุด ตลอด40ปี ความเร็วสูงสุด รุ่นสาม 548กม.


ลดการปล่อยคาร์บอน 32%
ใช้วัสดุรีไซเคิล 97%
โบกี้สองชั้น ตู้เสบียงหรูหรา




ด้วยระบบขับเลื่อนมอเตอร์หลายตัว ที่ให้ความเร็วสูงใกล้เคียงmaglev เตเฌเวจึงถือเป็นสุดยอดวิศวกรรมรถไฟของฝรั่งเศส



maglev หรือ แม่เหล็กไฟฟ้า

maglev จีนแดง 600กม. อยู่ระหว่างประกอบขบวนจริงและทดสอบความเร็วต่ำที่โรงงาน เมืองชิงเต่า มณฑลซานตง วิ่งเร็วกว่าขบวนของซีเมนส์ และใช้ระบบแม่เหล็กไฟฟ้าต่างกัน





ขบวนรถmaglevแขวนเหนือราง ซิงกั๋ว(ดาวประเทศ) เป็นขบวนแรกของโลก เริ่มเดินรถที่จีนแดง ความเร็ว 120กม.



ก่อนหน้า2017 จีนแดงสร้างขบวนรถmaglev s1ความเร็วต่ำ 80กม. เดินรถรอบนอกปักกิ่ง เพื่อเสียง และฝุ่นพิษจากล้อเหล็กที่บดราง



ทั้งสองขบวนนี้ไม่ใช้ซูปเปอร์คอนดัคเตอร์ในการลอยตัว

ฮิตาชิ ผู้ผลิตหัวรถจักรญี่ปุ่น ผลิตกระสวยไฮเปอร์ลูป จากคาร์บอนไฟเบอร์ โดยเข้าร่วมกับ กลุ่มไฮเปอร์ลูปทีที นำโดยสเปน



บางค่ายออกแบบกระสวยให้แขวนบนราง เพื่อให้เลี้ยวโค้งได้ง่าย ลดต้นทุนค่าวางราง เพราะใช้พื้นที่น้อยกว่า แต่จีนแดงพัฒนาให้วิ่งความเร็วต่ำก่อน คาดว่าจะใช้ซูเปอร์คอนดัคเตอร์หล่อเย็นด้วยไนโตรเจนเหลว


ไฮโดรเจน ติดตั้งหัวรถจักร รถบรรทุก รถบัส เพราะเบากว่ารังถ่านใหญ่ และเลิกใช้ดีเซล








เดินรถที่มองโกลเลียใน เพื่อขนถ่านหิน ที่80กม.

รถไฟไฮโดรเจนเริ่มเดินรถที่อังกฤษ ฝรั่งเศส อินเดีย จีนแดง เพื่อลดคาร์บอนไดออกไซด์ตามเป้าในปี2060






gaz บ.รถยนต์รัสเซีย ก่อตั้งโดยรัฐบาลโซเวียต เปิดตัวรถตู้และรถบัสไฮโดรเจน





เครื่องยนต์สันดาบไฮโดรเจน มีทำเครื่องยนต์ต้นแบบนอกจากโตโยต้า เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมหนัก








ไฮดร้าเรือแพไฮโดรเจนข้ามฟาก ออกเดินเรือให้บริการแล้ว





เครื่องบินใบพัด ไฮโดรเจน ทดสอบบินเรียบร้อย ความเร็วต่ำ พิสัยการบินใกล้
ไฮโดรเจนจะเบากว่าถ่าน จึงเหมาะสมในเครื่องบินมากกว่า






เตาปฏิกรณ์ ฟิวชั่น



ดวงอาทิตย์เทียม หรือ เอชแอล-2 เอ็ม โทคาแมค (HL-2M Tokamak) เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ปฏิกิริยาฟิวชั่นรุ่นใหม่ของจีน

สามารถแผ่ความร้อน ด้วยระดับอุณหภูมิสูงคงที่ต่อเนื่อง ระหว่างการทดลองเปิดสวิตช์ใช้งานเมื่อสัปดาห์นี้ ที่เมืองเหอเฝย มณฑลอันฮุย ทางภาคตะวันออก

โดยมีอุณหภูมิสูงราว 70 ล้านองศาเซลเซียส ร้อนกว่าดวงอาทิตย์ของจริง 5 เท่า ตลอดระยะเวลาการเดินเครื่องนาน 17 นาที ซึ่งเป็นระยะเวลาการทำงาน ของดวงอาทิตย์ประดิษฐ์ ที่ยาวนานสุดในโลก

https://mgronline.com/china/detail/9650000001507 



« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 10, 2022, 11:14:17 โดย bahamu »

ออฟไลน์ Weetting

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 3,975
  • ช่วงล่าง+เครื่องยนต์
Re: ความคืบหน้าแวดวงยานยนต์ พลังสะอาด 2564
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: มกราคม 09, 2022, 21:56:21 »
เห็นที่ UK. มี สามห่วง เติมไฮโดรเจน ขาย

https://www.toyota.co.uk/new-cars/mirai/

คิดว่าอีกนานไหมครับกว่าเอเชียจะพร้อม
THE Manual Gearbox Preservation Society
Drive diesel until last day

ออฟไลน์ escudaeza

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 399
Re: ความคืบหน้าแวดวงยานยนต์ พลังสะอาด 2564
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: มกราคม 10, 2022, 11:07:23 »
สรุปแนวโน้มอนาคตจริงๆ ควรเป็นไฟฟ้าหรือเป็นไฮโดรเจนจะดีกว่ากันครับ
แล้วถ้าสมมติเติมเป็นไฮโดรเจน จะยังมีเครื่องยนต์อยู่ไหมครับ
Mazda CX8 2.5 SP 2019

ออฟไลน์ bahamu

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 685
Re: ความคืบหน้าแวดวงยานยนต์ พลังสะอาด 2564
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: มกราคม 10, 2022, 11:58:29 »
ถ่านกับไฮโดรเจน พัฒนาพร้อมกัน อันใดก้าวหน้ากว่า คนนิยมกว่าเน้นขายอันนั้น

ถ่าน ถ้ายังทำไส้แข็งออกมาขายไม่สำเร็จใน5ปีนี้ ลิเธี่ยมต้องลากขายต่อไปแบบมือถือ

ไฮโดรเจน หลายประเทศเลือกใช้ในเครื่องจักรหนัก เพราะน้ำหนักเบากว่าถ่าน ต้นทุนต่ำกว่า ได้กำลังมากกว่า

ไฮโดนเจนแยกเป็นสองแนวทาง

ใช้เซลเชื้อเพลิง แล้วได้ไฟฟ้ามาอัดใส่ถ่าน ใช้ในรถ รถไฟ เรือ เครื่องบิน

ใช้ฉีดตรงที่ห้องเผาไหม้ แทนเบนซิน เปลี่ยนหัวสูบ อะไหล่ดัดแปลงเครื่องยนต์ก็ใช้งานได้ แต่รอบการจุดระเบิดจะถี่กว่าเบนซิน คายความร้อนน้อยกว่า เครื่องโรตารี่จึงเหมาะใช้กับไฮโดรเจน แต่โครงการนี้มาสด้าพับไป

ใช้ในเครื่องจักรหนัก เครื่องปั่นไฟฟ้า รถก่อสร้างต่างๆ

ปัญหาของไฮโดรเจนเหลว ต้องใช้แรงดัน700บาร์ หรือ 10,153psi ให้กลายเป็นน้ำ เก็บในถัง ส่งตามท่อ สาย ที่700บาร์ มีต้นทุนสูง กว่าตู้อัดไฟdc370v

ปั้มไฮโดรเจนเหลว เปิดได้ตามชุมทางรถบรรทุก ถึงคืนทุนเร็วกว่าปั้มไฟฟ้า

ไฮโดรเจนเหลว ขนส่งช้ากว่าสายส่งไฟฟ้าในเขตชุมชน

การที่เน้นไฮโดรเจนเหลวอยู่ อาจเพราะถ่านไส้แข็งหรือ ถ่านเล็ก เบา ความจุสูง ยังทำไม่สำเร็จ และวัตถุดิบแยกไฮโดรเจนหาง่าย ราคาถูกกว่า ถ่านมาก แต่กระบวนการผลิตต้นทุนสูงทำให้ 1กก.แพงกว่าดีเซล

หากคำนึงในแง่เกิดสงครามเต็มรูปแบบ สองอย่างจำเป็นต้องพัฒนาควบคู่กัน เพราะการตัดน้ำมัน ก๊าซเกิดขึ้นแน่ รวมถึงอะไหล่ต่างๆที่ฮิตเลอร์เจอกับตัว จนบุกยึดแบบสายฟ้าแลบไม่สำเร็จ

เพราะยิวไม่ส่งอะไหล่ให้และขายอาวุธส่งอะไหล่ให้ทุกกลุ่ม แถมผูกขาดการเงินยุโรป การกวาดล้างให้สิ้นซากจึงเกิดขึ้น ไม่ต่างจากที่สตาลินทำ

เผอิญฮิตเลอร์ฉีกสัญญาพันธมิตรกับสตาลิน เพื่อยึดบ่อน้ำมันที่อาเซอร์ไบจัน แดนภูไฟศักดิ์สิทธิ์ไม่ดับมอดหลายพันปี ไรช์ที่สามเลยส่อแววแพ้สงครามเพราะเปิดศึกสองด้านพร้อมกัน ถ้าเชื่อมิสมารค์ก็ครองยุโรปเบ็ดเสร็จไปแล้ว

มีโซเวียต จีนแดง ญี่ปุ่น ไทย อิตาลี ญวน เป็นอักษะ ผลของสงครามต่างไป


เผอิญวังเครมลิน จตุรัสแดง ฮวงจุ้ยไม่ดี เหมือนกรุงธนบุรี เจิ้งเจาท่านรู้ คิดจะย้าย รอเรือทูตที่ส่งไปปักกิ่งพบเฉียนหลงหลงเต้รับตราตั้งเป็นอ๋อง และค้าขายได้เงินสามบ้านตำลึง พร้อมวัศดุก่อสร้างวังฝั่งบางจีน แต่ท่านสวรรคตก่อนทูตกลับมาถึง

วังเครมลิน จตุรัสมีสะพานข่มและแม่น้ำมอสโกเชือดเฉือนเครมลิน กับจตุรัสแดง และเครมลินพื้นที่เป็นสามเหลี่ยม เป็นมหาอำนาจจริงแต่อยู่ได้ไม่ยืนยาว พลังรั่วไหลเยอะ

มีมหาวิหารเซนต์เบซิลเป็นหลักเมือง สตาลินสั่งทุบทิ้งสร้างเป็นตึกทรงโกทิคแบบตึกหกสาว มีรูปสตาลินยืนยอดตึก บังเอิญเงินหมดสร้างไม่เสร็จ เพราะรบติดพัน เลยแก้ฮวงจุ้ยไปจบ น่าจะประธานเหมาแนะนำ แบบที่สร้างจตุรัสเทียนอันเหมิน

(เรื่องฮวงจุ้ยนี่เพ้อเจ้อ ไม่มีในตำราแบบซินแสไทย ควรลืมเสีย)

สตาลินสามารถล้อมทัพทหารพายุที่รบเก่งที่สุดของนาซีที่สตาลินกราด 6ปีจนยอมแปรพัตร์ มาเข้าร่วมกองทัพแดง และนำทัพฝ่าเยอรมันตะวันออก บุกถึงเบอร์ลินได้ก่อน ไม่ได้ไล่ฆ่าชาวดอยซ์ตลอดทางตามนิยายที่ใส่สีใส่ไข่กัน ชาวสลาฟตายไปเยอะกว่ายิว
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 10, 2022, 18:44:14 โดย bahamu »