ผู้เขียน หัวข้อ: เพิ่งจะรู้ว่านำมันเครื่องส่งผลต่อความร้อนของเครื่องยนต์ด้วย ^^  (อ่าน 13021 ครั้ง)

ออฟไลน์ mazeraty

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 404
    • อีเมล์
พอดีวันนี้ไปเปลื่ยนถ่าย นมค. มาครับ สังเกตมาตรวัดเห็นเจ้าอุณภูมิขณะวิ่งปกติ ลดลงไปมากสุดถึง 2 องศา ปกติจะอยู่ที่ 88-90 แต่พอหลังเปลื่ยนต่ำสุดมาอยู่ที่ 86 องศา รถผมใช้แก๊สนะครับ
เลยเอามาแชร์ให้ฟัง เผื่อใครจะยังไม่ทราบเหมือนผม    หากใครมีข้อมูลทางทฤษฎีโปรดชี้แนะด้วยครับ  ;D ;D ;D ;D


ออฟไลน์ T1k

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 711
    • T1K
    • อีเมล์
มีผลครับ แต่คนใช่รถสมันยนี้มักไม่รู้เพราะ ไม่มีวัดTemp



แต่ผมไปเจอที่ Forza ครับ เพราะใช่ นมคศูนย์ เทียบกับ Mobil1 Syn ผลคือ ความร้อนลดลงพอควรครับ

ออฟไลน์ EG-5182

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 124
    • อีเมล์
ดูที่อุณหภูมิน้ำ ไม่น่ามีผลครับ

อุณหภูมิน้ำ มันกำหนดโดยวาล์วน้ำ และ พัดลมระบายครับ

ถ้าไม่หวดหนักจริงๆ แทบไม่แตกต่าง

รถติดหนักๆ หรือรถวิ่ง ก็อุณหภูมิก็ขยับได้ครับ 85 - 92 ถ้าเปิดแอร์


ถ้าต่างจริงๆ ต้องดูทึ่ Oil Temp มากกว่าครับ

ออฟไลน์ supercat

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 796
พอดีวันนี้ไปเปลื่ยนถ่าย นมค. มาครับ สังเกตมาตรวัดเห็นเจ้าอุณภูมิขณะวิ่งปกติ ลดลงไปมากสุดถึง 2 องศา ปกติจะอยู่ที่ 88-90 แต่พอหลังเปลื่ยนต่ำสุดมาอยู่ที่ 86 องศา รถผมใช้แก๊สนะครับ
เลยเอามาแชร์ให้ฟัง เผื่อใครจะยังไม่ทราบเหมือนผม    หากใครมีข้อมูลทางทฤษฎีโปรดชี้แนะด้วยครับ  ;D ;D ;D ;D



เจ้าเครื่องในรูปนี่ ราคาโหดมั้ยครับ เมืองไทยมีขายมั้ย  ;D ;D ;D

jaesz

  • บุคคลทั่วไป
พอดีวันนี้ไปเปลื่ยนถ่าย นมค. มาครับ สังเกตมาตรวัดเห็นเจ้าอุณภูมิขณะวิ่งปกติ ลดลงไปมากสุดถึง 2 องศา ปกติจะอยู่ที่ 88-90 แต่พอหลังเปลื่ยนต่ำสุดมาอยู่ที่ 86 องศา รถผมใช้แก๊สนะครับ
เลยเอามาแชร์ให้ฟัง เผื่อใครจะยังไม่ทราบเหมือนผม    หากใครมีข้อมูลทางทฤษฎีโปรดชี้แนะด้วยครับ  ;D ;D ;D ;D



น้ำมันเครื่อง ทำหน้าที่หลัก ๆ คือ

1. ล้าง ทำความสะอาด
2. หล่อลื่นป้องกันโลหะกับโลหะขัดสีกัน
3. หล่อเย็นเครื่องยนต์ในส่วนที่น้ำเข้าไปไม่ได้

อุณหภูมิน้ำที่เห็น คงบอกอะไรไม่ได้ครับ เพราะมันขึ้นกับอุณหภูมิภายนอกเป็นหลัก ทั้งนี้ตำแหน่งการติดตั้งเซนเซอร์ของรถก็ไม่เหมือนกัน แต่ละจุดจะความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิกับอากาศภายนอกไม่เท่ากัน เช่น ติดไว้หน้าท่อเข้าหม้อน้ำ จุดนี้เป็นจุดที่เปลี่ยนแปลงค่อนข้างมาก หรือ ติดไว้ในตัวหม้อน้ำ ก็เปลี่ยนแปลงตามพัดลม อากาศยิ่งเย็นน้ำก็เย็นลงง่ายครับ

ระหว่าง Ambient temp 30 องศา กับ 35 องศา เอาไปแลกเปลี่ยนความร้อนกับน้ำ 100 องศา ไม่ได้แปลว่าน้ำจะเย็นกว่า 5 องศา แต่กลายเป็นว่าน้ำจะเย็นกว่าแค่ราว ๆ 2 องศา คราวนี้ ambient temp ของรถที่วิ่งผ่านพื้นถนนร้อน กับ พื้นถนนเย็น ก็ไม่เท่ากัน เพราะถึงอากาศทั่วไปจะอุณหภูมิเท่ากัน แต่อากาศจากพื้นถนนอาจจะร้อนหรือเย็นกว่าก็ได้

เรื่องของอุณหภูมิน้ำระดับ 2 องศา ถึงอธิบายอะไรไม่ได้เลยว่าเครื่องร้อนหรือเย็นลงจากการถ่ายน้ำมันเครื่อง

เอาทฤษฎีการหล่อลื่น เทียบกับ Thermodynamic ในส่วน Heat Exchanger ก็จะได้ว่า

สภาพน้ำมันเครื่องที่หมดสภาพ ซึ่งมักจะ เย็นเหนียว ร้อนเหลวลื่นมาก ๆ ความหนืดน้อยมาก ๆ จะทำให้เครื่องมีอุณหภูมิสูงกว่า น้ำมันเครื่องที่มีสภาพดี เบอร์เดียวกัน พวกนี้ความหนืดขณะเครื่องร้อนอาจจะเหลือแค่ 1 cSt เท่านั้นซึ่งไม่ได้หล่อลื่นอะไรเลย

รถยนต์ในไทย อุณหภูมิน้ำมันเครื่องในอ่าง อยู่ราวๆ 100 องศา (ไม่นับ BMW, BENZ, Porsche etc ที่ออกแบบกับเมืองหนาว) จะมีViscosity ต่ำมากแถว ๆ 10-20cSt เท่านั้น เป็นค่าที่น้อยมาก แยกโดยมนุษย์ และเครื่องจักรทั่วไปไม่ออก เมื่อไหลผ่านผนังสูบผ่านปั๊มน้ำมัน ความร้อนน้ำมันเครื่องจะเพ่ิมเป็น 150-300 องศา แล้วแต่ความเร็วของกระบอกสูบ และจะเหลือความหนืดราว ๆ 2-5 cSt ยิ่งเหลือความหนาของฟิลม์น้ำมันน้อย ก็สร้างแรงเสียดทานบนลูกสูบมากกว่า มีโอกาสทำให้เกิดความร้อนสุงกว่า เพราะฟิลม์น้ำมันไม่หนาพอจะปกป้องผิวโลหะ SAE XW- 20 ตามมาตรฐาน API ต้องการ ค่า HTHS (วัดที่ 150องศา) ต่ำสุด 2.6cSt เป็นค่าปลอดภัยต่อเครื่องยนต์

กรณีรถแข่ง จึงนิยมใช้ SAE 50 ขึ้นไปเพราะความร้อนสูงกว่ารถทั่ว ๆไปมาก ๆ เว้นแต่จะมีการเติมสารเคมี หรือ น้ำมันสังเคราะห์โครงสร้างโมเลกุลสั้น ๆ ลงไปมาก ๆ ก็อาจจะใช้เบอร์ 40 ได้อยู่ แต่ก็ต้องถ่ายทิ้งหลังแข่งอยู่ดี

ใช้น้ำมันเครื่อง ต้องใช้ให้เหมาะกับเครื่องยนต์และการใช้งาน การใช้น้ำมัน หนา บาง สังเคราะห์ ไม่สังเคราะห์ ก็เป็นการแลกเปลี่ยน(trade off) ระหว่าง มูลค่าของน้ำมันเครื่องก็ดี ระยะการถ่ายน้ำมัน การสึกหรอของเครื่องยนต์ การประหยัดน้ำมัน อุณหภูมิการใช้งาน

ผมว่าเราโชคดีจริง ๆที่เราอยู่ในเมืองร้อนตลอดเวลา การใช้น้ำมันเบอร์หนา ๆ จึงแทบไม่ส่งผลกับเราตอนสตาร์ทรถเช้า ๆ และยังเป็นหลักประกันการป้องการเครื่องยนต์ให้เราได้ดีด้วย ไม่เหมือนพวกฝรั่งที่เดี๋ยวร้อนจัด หนาวจัด น้ำมันเครื่องไม่ไหล อะไรแบบนี้

ได้โปรด ถ้าอยากอ่านเพิ่มเติม หามาอ่านครับ
Lubrication Fundamentals, Second Edition
โดย D.M. Pirro,A.A. Wessol
เป็นหนังสือที่ดีมากเล่มนึงสำหรับคนที่อยากรู้จริง อ่านง่าย แทบไม่ต้องใช้ความรู้ทางวิศกรรมซับซ้อนมากมายอะไรเลย

หรือ ดูอันนี้ ให้ครบทุกตอนครับ พอได้
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: สิงหาคม 26, 2014, 10:40:12 โดย Jae »

ออฟไลน์ Dozeda

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 77
พอดีวันนี้ไปเปลื่ยนถ่าย นมค. มาครับ สังเกตมาตรวัดเห็นเจ้าอุณภูมิขณะวิ่งปกติ ลดลงไปมากสุดถึง 2 องศา ปกติจะอยู่ที่ 88-90 แต่พอหลังเปลื่ยนต่ำสุดมาอยู่ที่ 86 องศา รถผมใช้แก๊สนะครับ
เลยเอามาแชร์ให้ฟัง เผื่อใครจะยังไม่ทราบเหมือนผม    หากใครมีข้อมูลทางทฤษฎีโปรดชี้แนะด้วยครับ  ;D ;D ;D ;D



น้ำมันเครื่อง ทำหน้าที่หลัก ๆ คือ

1. ล้าง ทำความสะอาด
2. หล่อลื่นป้องกันโลหะกับโลหะขัดสีกัน
3. หล่อเย็นเครื่องยนต์ในส่วนที่น้ำเข้าไปไม่ได้

อุณหภูมิน้ำที่เห็น คงบอกอะไรไม่ได้ครับ เพราะมันขึ้นกับอุณหภูมิภายนอกเป็นหลัก ทั้งนี้ตำแหน่งการติดตั้งเซนเซอร์ของรถก็ไม่เหมือนกัน แต่ละจุดจะความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิกับอากาศภายนอกไม่เท่ากัน เช่น ติดไว้หน้าท่อเข้าหม้อน้ำ จุดนี้เป็นจุดที่เปลี่ยนแปลงค่อนข้างมาก หรือ ติดไว้ในตัวหม้อน้ำ ก็เปลี่ยนแปลงตามพัดลม อากาศยิ่งเย็นน้ำก็เย็นลงง่ายครับ

ระหว่าง Ambient temp 30 องศา กับ 35 องศา เอาไปแลกเปลี่ยนความร้อนกับน้ำ 100 องศา ไม่ได้แปลว่าน้ำจะเย็นกว่า 5 องศา แต่กลายเป็นว่าน้ำจะเย็นกว่าแค่ราว ๆ 2 องศา คราวนี้ ambient temp ของรถที่วิ่งผ่านพื้นถนนร้อน กับ พื้นถนนเย็น ก็ไม่เท่ากัน เพราะถึงอากาศทั่วไปจะอุณหภูมิเท่ากัน แต่อากาศจากพื้นถนนอาจจะร้อนหรือเย็นกว่าก็ได้

เรื่องของอุณหภูมิน้ำระดับ 2 องศา ถึงอธิบายอะไรไม่ได้เลยว่าเครื่องร้อนหรือเย็นลงจากการถ่ายน้ำมันเครื่อง

เอาทฤษฎีการหล่อลื่น เทียบกับ Thermodynamic ในส่วน Heat Exchanger ก็จะได้ว่า

สภาพน้ำมันเครื่องที่หมดสภาพ ซึ่งมักจะ เย็นเหนียว ร้อนเหลวลื่นมาก ๆ ความหนืดน้อยมาก ๆ จะทำให้เครื่องมีอุณหภูมิสูงกว่า น้ำมันเครื่องที่มีสภาพดี เบอร์เดียวกัน พวกนี้ความหนืดขณะเครื่องร้อนอาจจะเหลือแค่ 1 cSt เท่านั้นซึ่งไม่ได้หล่อลื่นอะไรเลย

รถยนต์ในไทย อุณหภูมิน้ำมันเครื่องในอ่าง อยู่ราวๆ 100 องศา (ไม่นับ BMW, BENZ, Porsche etc ที่ออกแบบกับเมืองหนาว) จะมีViscosity ต่ำมากแถว ๆ 10-20cSt เท่านั้น เป็นค่าที่น้อยมาก แยกโดยมนุษย์ และเครื่องจักรทั่วไปไม่ออก เมื่อไหลผ่านผนังสูบผ่านปั๊มน้ำมัน ความร้อนน้ำมันเครื่องจะเพ่ิมเป็น 150-300 องศา แล้วแต่ความเร็วของกระบอกสูบ และจะเหลือความหนืดราว ๆ 2-5 cSt ยิ่งเหลือความหนาของฟิลม์น้ำมันน้อย ก็สร้างแรงเสียดทานบนลูกสูบมากกว่า มีโอกาสทำให้เกิดความร้อนสุงกว่า เพราะฟิลม์น้ำมันไม่หนาพอจะปกป้องผิวโลหะ SAE XW- 20 ตามมาตรฐาน API ต้องการ ค่า HTHS (วัดที่ 150องศา) ต่ำสุด 2.6cSt เป็นค่าปลอดภัยต่อเครื่องยนต์

กรณีรถแข่ง จึงนิยมใช้ SAE 50 ขึ้นไปเพราะความร้อนสูงกว่ารถทั่ว ๆไปมาก ๆ เว้นแต่จะมีการเติมสารเคมี หรือ น้ำมันสังเคราะห์โครงสร้างโมเลกุลสั้น ๆ ลงไปมาก ๆ ก็อาจจะใช้เบอร์ 40 ได้อยู่ แต่ก็ต้องถ่ายทิ้งหลังแข่งอยู่ดี

ใช้น้ำมันเครื่อง ต้องใช้ให้เหมาะกับเครื่องยนต์และการใช้งาน การใช้น้ำมัน หนา บาง สังเคราะห์ ไม่สังเคราะห์ ก็เป็นการแลกเปลี่ยน(trade off) ระหว่าง มูลค่าของน้ำมันเครื่องก็ดี ระยะการถ่ายน้ำมัน การสึกหรอของเครื่องยนต์ การประหยัดน้ำมัน อุณหภูมิการใช้งาน

ผมว่าเราโชคดีจริง ๆที่เราอยู่ในเมืองร้อนตลอดเวลา การใช้น้ำมันเบอร์หนา ๆ จึงแทบไม่ส่งผลกับเราตอนสตาร์ทรถเช้า ๆ และยังเป็นหลักประกันการป้องการเครื่องยนต์ให้เราได้ดีด้วย ไม่เหมือนพวกฝรั่งที่เดี๋ยวร้อนจัด หนาวจัด น้ำมันเครื่องไม่ไหล อะไรแบบนี้

ได้โปรด ถ้าอยากอ่านเพิ่มเติม หามาอ่านครับ
Lubrication Fundamentals, Second Edition
โดย D.M. Pirro,A.A. Wessol
เป็นหนังสือที่ดีมากเล่มนึงสำหรับคนที่อยากรู้จริง อ่านง่าย แทบไม่ต้องใช้ความรู้ทางวิศกรรมซับซ้อนมากมายอะไรเลย

หรือ ดูอันนี้ ให้ครบทุกตอนครับ พอได้


ด้วยความเคารพ แม้ผมจะไม่เข้าใจที่อธิบาย แต่ผมชอบพี่คับที่ช่วยกันแบ่งปันข้อมูลดีๆให้คนที่ติดตามเว็ปนี้ได้รับรู้กันด้วยหลักการ

ออฟไลน์ mazeraty

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 404
    • อีเมล์
พอดีวันนี้ไปเปลื่ยนถ่าย นมค. มาครับ สังเกตมาตรวัดเห็นเจ้าอุณภูมิขณะวิ่งปกติ ลดลงไปมากสุดถึง 2 องศา ปกติจะอยู่ที่ 88-90 แต่พอหลังเปลื่ยนต่ำสุดมาอยู่ที่ 86 องศา รถผมใช้แก๊สนะครับ
เลยเอามาแชร์ให้ฟัง เผื่อใครจะยังไม่ทราบเหมือนผม    หากใครมีข้อมูลทางทฤษฎีโปรดชี้แนะด้วยครับ  ;D ;D ;D ;D



น้ำมันเครื่อง ทำหน้าที่หลัก ๆ คือ

1. ล้าง ทำความสะอาด
2. หล่อลื่นป้องกันโลหะกับโลหะขัดสีกัน
3. หล่อเย็นเครื่องยนต์ในส่วนที่น้ำเข้าไปไม่ได้

อุณหภูมิน้ำที่เห็น คงบอกอะไรไม่ได้ครับ เพราะมันขึ้นกับอุณหภูมิภายนอกเป็นหลัก ทั้งนี้ตำแหน่งการติดตั้งเซนเซอร์ของรถก็ไม่เหมือนกัน แต่ละจุดจะความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิกับอากาศภายนอกไม่เท่ากัน เช่น ติดไว้หน้าท่อเข้าหม้อน้ำ จุดนี้เป็นจุดที่เปลี่ยนแปลงค่อนข้างมาก หรือ ติดไว้ในตัวหม้อน้ำ ก็เปลี่ยนแปลงตามพัดลม อากาศยิ่งเย็นน้ำก็เย็นลงง่ายครับ

ระหว่าง Ambient temp 30 องศา กับ 35 องศา เอาไปแลกเปลี่ยนความร้อนกับน้ำ 100 องศา ไม่ได้แปลว่าน้ำจะเย็นกว่า 5 องศา แต่กลายเป็นว่าน้ำจะเย็นกว่าแค่ราว ๆ 2 องศา คราวนี้ ambient temp ของรถที่วิ่งผ่านพื้นถนนร้อน กับ พื้นถนนเย็น ก็ไม่เท่ากัน เพราะถึงอากาศทั่วไปจะอุณหภูมิเท่ากัน แต่อากาศจากพื้นถนนอาจจะร้อนหรือเย็นกว่าก็ได้

เรื่องของอุณหภูมิน้ำระดับ 2 องศา ถึงอธิบายอะไรไม่ได้เลยว่าเครื่องร้อนหรือเย็นลงจากการถ่ายน้ำมันเครื่อง

เอาทฤษฎีการหล่อลื่น เทียบกับ Thermodynamic ในส่วน Heat Exchanger ก็จะได้ว่า

สภาพน้ำมันเครื่องที่หมดสภาพ ซึ่งมักจะ เย็นเหนียว ร้อนเหลวลื่นมาก ๆ ความหนืดน้อยมาก ๆ จะทำให้เครื่องมีอุณหภูมิสูงกว่า น้ำมันเครื่องที่มีสภาพดี เบอร์เดียวกัน พวกนี้ความหนืดขณะเครื่องร้อนอาจจะเหลือแค่ 1 cSt เท่านั้นซึ่งไม่ได้หล่อลื่นอะไรเลย

รถยนต์ในไทย อุณหภูมิน้ำมันเครื่องในอ่าง อยู่ราวๆ 100 องศา (ไม่นับ BMW, BENZ, Porsche etc ที่ออกแบบกับเมืองหนาว) จะมีViscosity ต่ำมากแถว ๆ 10-20cSt เท่านั้น เป็นค่าที่น้อยมาก แยกโดยมนุษย์ และเครื่องจักรทั่วไปไม่ออก เมื่อไหลผ่านผนังสูบผ่านปั๊มน้ำมัน ความร้อนน้ำมันเครื่องจะเพ่ิมเป็น 150-300 องศา แล้วแต่ความเร็วของกระบอกสูบ และจะเหลือความหนืดราว ๆ 2-5 cSt ยิ่งเหลือความหนาของฟิลม์น้ำมันน้อย ก็สร้างแรงเสียดทานบนลูกสูบมากกว่า มีโอกาสทำให้เกิดความร้อนสุงกว่า เพราะฟิลม์น้ำมันไม่หนาพอจะปกป้องผิวโลหะ SAE XW- 20 ตามมาตรฐาน API ต้องการ ค่า HTHS (วัดที่ 150องศา) ต่ำสุด 2.6cSt เป็นค่าปลอดภัยต่อเครื่องยนต์

กรณีรถแข่ง จึงนิยมใช้ SAE 50 ขึ้นไปเพราะความร้อนสูงกว่ารถทั่ว ๆไปมาก ๆ เว้นแต่จะมีการเติมสารเคมี หรือ น้ำมันสังเคราะห์โครงสร้างโมเลกุลสั้น ๆ ลงไปมาก ๆ ก็อาจจะใช้เบอร์ 40 ได้อยู่ แต่ก็ต้องถ่ายทิ้งหลังแข่งอยู่ดี

ใช้น้ำมันเครื่อง ต้องใช้ให้เหมาะกับเครื่องยนต์และการใช้งาน การใช้น้ำมัน หนา บาง สังเคราะห์ ไม่สังเคราะห์ ก็เป็นการแลกเปลี่ยน(trade off) ระหว่าง มูลค่าของน้ำมันเครื่องก็ดี ระยะการถ่ายน้ำมัน การสึกหรอของเครื่องยนต์ การประหยัดน้ำมัน อุณหภูมิการใช้งาน

ผมว่าเราโชคดีจริง ๆที่เราอยู่ในเมืองร้อนตลอดเวลา การใช้น้ำมันเบอร์หนา ๆ จึงแทบไม่ส่งผลกับเราตอนสตาร์ทรถเช้า ๆ และยังเป็นหลักประกันการป้องการเครื่องยนต์ให้เราได้ดีด้วย ไม่เหมือนพวกฝรั่งที่เดี๋ยวร้อนจัด หนาวจัด น้ำมันเครื่องไม่ไหล อะไรแบบนี้

ได้โปรด ถ้าอยากอ่านเพิ่มเติม หามาอ่านครับ
Lubrication Fundamentals, Second Edition
โดย D.M. Pirro,A.A. Wessol
เป็นหนังสือที่ดีมากเล่มนึงสำหรับคนที่อยากรู้จริง อ่านง่าย แทบไม่ต้องใช้ความรู้ทางวิศกรรมซับซ้อนมากมายอะไรเลย

หรือ ดูอันนี้ ให้ครบทุกตอนครับ พอได้


ขอบคุณครับสำหรับข้อมูลความรู้ดีๆ  ผมก็มั่วอยู่นานเลยเข้าใจว่ามันเป็นอุณภูมิเครื่องด้วย...

ออฟไลน์ mazeraty

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 404
    • อีเมล์




เจ้าเครื่องในรูปนี่ ราคาโหดมั้ยครับ เมืองไทยมีขายมั้ย  ;D ;D ;D
[/quote]

ผมจำไม่ได้แล้วครับว่าซื้อที่ไหน แต่ตอนซื้อราคา 3500 บาท ต่อได้เหลือ 3000 ยี่ห้อ Autogate ครับตอนนี้เปลื่ยนชื่อเป็น scangauge แล้ว http://www.scangauge.com/

ออฟไลน์ Darkart

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,192
    • อีเมล์
มีผลอย่างมากครับ
น้ำมันเครื่องช่วยป้องกันไม่ให้ผิวของชิ้นส่วนโลหะในเครื่องยนต์เสียดสีและสึกหรอ
น้ำมันเครื่องยังช่วยระบายความร้อน ลดการสึกหรอ และให้การปกป้องเครื่องยนต์
น้ำมันเครื่องจึงมีส่วนในการนำพาความร้อน จากส่วนที่ร้อนจัด เช่นกระบอกสูบ จากลูกสูบ และแหวนสูบครับ
ผู้ไม่มีแผลเป็น คือ ผู้ไม่มีประสบการณ์

ออฟไลน์ bravo

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2,470
    • อีเมล์
ดูที่อุณหภูมิน้ำ ไม่น่ามีผลครับ

อุณหภูมิน้ำ มันกำหนดโดยวาล์วน้ำ และ พัดลมระบายครับ

ถ้าไม่หวดหนักจริงๆ แทบไม่แตกต่าง

รถติดหนักๆ หรือรถวิ่ง ก็อุณหภูมิก็ขยับได้ครับ 85 - 92 ถ้าเปิดแอร์


ถ้าต่างจริงๆ ต้องดูทึ่ Oil Temp มากกว่าครับ

เห็นด้วยครับ