ผู้เขียน หัวข้อ: ไฟหน้ารถ เมื่อไหร่จะพัฒนาไม่ให้มันเหลืองซักที  (อ่าน 11602 ครั้ง)

ออฟไลน์ Spec C Wannabe

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 553
Re: ไฟหน้ารถ เมื่อไหร่จะพัฒนาไม่ให้มันเหลืองซักที
« ตอบกลับ #30 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2015, 17:06:43 »
ถ้าเหลืองก็ขัดให้ขาวใสแว้บแล้วให้ร้านพ่นสีเค้าพ่นเคลียร์ใสๆทับไปเลย

หากใช้แค่น้ำยาเคลือบสีมันไม่ทน ล้างรถ โดนแดด โดนฝน แป้บเดียวมันก็สลายไปหมดแล้ว 

promt

  • บุคคลทั่วไป
Re: ไฟหน้ารถ เมื่อไหร่จะพัฒนาไม่ให้มันเหลืองซักที
« ตอบกลับ #31 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2015, 17:48:11 »
เปลี่ยนเป็นโคมกระจกรุ่นโบราณเลยครับ ไม่เหลืองหมอง

แต่กระจกมันขึ้นรูปให้สวยงามไม่ได้

คงจะใช้เวลานานครับกว่าจะพัฒนาให้พลาสติกที่ใช้ทำเลนส์ไม่เสื่อมเร็ว

ตัวเร่งปฏิกิริยาทำให้พลาสติกเสื่อมเร็วขึ้น มี
1. แสง โดยเฉพาะแสงยูวี
2. ความชื้น
3. ออกซิเจน
4. อุณหภูมิ

ตอนนี้ก็ลดการเสื่อมโดยเปลี่ยนมาใช้หลอด LED ครับ
ซึ่งอุณหภูมิต่ำ และแสงมีความยาวคลื่น (wavelength) ยาว
พลาสติกจะได้หมองช้าลง แต่ยังไงใช้ไปนานๆ ก็หมองอยู่ดี
LED แสงเหลืองน้อยลง อมฟ้ามากขึ้น ความยาวคลื่นต้องสั้นลงรึเปล่าครับ  โคมบางทีก็มีอาการขึ้นเหมือนของ จขกท  ซึ่งอาการนี้น่าจะเกิดจากความร้อนของตัวโคมนะครับ

ขออภัยที่ตอบไม่หมด

ใช่ครับ ถ้าดูเฉพาะสีของแสง LED ที่มีแสงสีอมฟ้า ความยาวคลื่น (460 nm) จะสั้นกว่าแสงออกเหลืองของหลอดไส้ (580 nm)

ถ้าดูความยาวคลื่นแล้วจะพบว่า LED ส่วนใหญ่ให้แสงที่ความยาวคลื่น 400-700 nm ซึ่งจะไม่มีการปล่อย UV ออกมาเลย
หากใช้ LED แสงสีขาวอมฟ้าจะให้ความยาวคลื่น 460 nm ตามที่กล่าวไปแล้ว

แต่ถ้าเป็นหลอดไส้ แสงจะออกขาวอมเหลือง ควรมีความยาวคลื่น ที่ 580 nm ตามทฤษฏี
แต่หลอดไส้ มีการปล่อยแสงช่วง UV (ความยาวคลื่นน้อยกว่า 400 nm) ออกมาด้วย
การใช้หลอดไส้ เลนส์พลาสติกจึงหมองเร็วกว่าการใช้หลอด LED
หลอด ยกตัวอย่าง philips นั้นทำมาจาก quartz  แสดงว่าการเสื่อมสภาพของโคมที่ใช้ led กับ หลอด philips จะเสื่อมสภาพด้วยอัตราที่เท่ากัน ถูกมั้ยครับ

เอาตามความจริงวิทยาศาสตร์นะครับ ผมไม่ค่อยเชื่อโฆษณา เพราะเชื่อโฆษณาหรือพ่อค้าเยอะแล้วเจ็บปวดมากกว่ายิ้ม

ปกติหลอดต่างๆ ที่ใช้ในอุตสาหกรรม หรือเครื่องมือวิเคราะห์ทางเคมี ที่ใช้หลอดความร้อนสูง หลอดพลังงานสูงๆ
จะใช้ QUARTZ ทำหลอด เพื่อคุณสมบัติ ใส แข็งแรง ทนความร้อน ไม่เปราะง่าย ถ้าใช้แก้วธรรมดา หลอดจะแตกเร็ว

ส่วนคุณสมบัติด้านแสง
QUARTZ ให้ UV ผ่านได้ 90% ที่ความยาวคลื่น 250 nm ขึ้นไปถึง 1000 nm

ถ้าความยาวคลื่น 200 nm - 250 nm (ช่วง UV-C) QUARTZ จะให้ UV ผ่านได้ 40-90 % นั่นคือ QUARTZ จะดูดกลืนแสง UV ได้ที่ช่วง 200-250 nm เพียง 10-60% เท่านั้น

ดังนั้น QUARTZ จะกัน UV ได้เพียง 10-60 % ที่ช่วง 200-250 nm

แต่แสงจากหลอด xenon จะมีความยาวคลื่น 300 - 1000 nm

ดังนั้นหลอดไส้หรือซีนอนที่ใช้ QUARTZ ทำ จะกัน UV ที่ปล่อยมาจากหลอดไม่ได้
(ถ้าจะกันได้ ต้องนำไปผสมกับวัสดุอื่นซึ่งยังไม่ใช่ราคาปัจจุบัน หรือถ้าราคาพอจับต้องได้ คงอัดโฆษณาจนหูคนฟังชาแล้ว)

ตอบคำถามครับ
หลอด Xenon ที่ใช้ quartz ผลิต ทำให้สภาพโคมพลาสติกเสื่อมเร็วกว่า LED ครับ

ผมอธิบายพอเข้าใจไหมครับ

ออฟไลน์ crucifixzz

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 960
Re: ไฟหน้ารถ เมื่อไหร่จะพัฒนาไม่ให้มันเหลืองซักที
« ตอบกลับ #32 เมื่อ: มิถุนายน 10, 2015, 21:21:44 »
เปลี่ยนเป็นโคมกระจกรุ่นโบราณเลยครับ ไม่เหลืองหมอง

แต่กระจกมันขึ้นรูปให้สวยงามไม่ได้

คงจะใช้เวลานานครับกว่าจะพัฒนาให้พลาสติกที่ใช้ทำเลนส์ไม่เสื่อมเร็ว

ตัวเร่งปฏิกิริยาทำให้พลาสติกเสื่อมเร็วขึ้น มี
1. แสง โดยเฉพาะแสงยูวี
2. ความชื้น
3. ออกซิเจน
4. อุณหภูมิ

ตอนนี้ก็ลดการเสื่อมโดยเปลี่ยนมาใช้หลอด LED ครับ
ซึ่งอุณหภูมิต่ำ และแสงมีความยาวคลื่น (wavelength) ยาว
พลาสติกจะได้หมองช้าลง แต่ยังไงใช้ไปนานๆ ก็หมองอยู่ดี
LED แสงเหลืองน้อยลง อมฟ้ามากขึ้น ความยาวคลื่นต้องสั้นลงรึเปล่าครับ  โคมบางทีก็มีอาการขึ้นเหมือนของ จขกท  ซึ่งอาการนี้น่าจะเกิดจากความร้อนของตัวโคมนะครับ

ขออภัยที่ตอบไม่หมด

ใช่ครับ ถ้าดูเฉพาะสีของแสง LED ที่มีแสงสีอมฟ้า ความยาวคลื่น (460 nm) จะสั้นกว่าแสงออกเหลืองของหลอดไส้ (580 nm)

ถ้าดูความยาวคลื่นแล้วจะพบว่า LED ส่วนใหญ่ให้แสงที่ความยาวคลื่น 400-700 nm ซึ่งจะไม่มีการปล่อย UV ออกมาเลย
หากใช้ LED แสงสีขาวอมฟ้าจะให้ความยาวคลื่น 460 nm ตามที่กล่าวไปแล้ว

แต่ถ้าเป็นหลอดไส้ แสงจะออกขาวอมเหลือง ควรมีความยาวคลื่น ที่ 580 nm ตามทฤษฏี
แต่หลอดไส้ มีการปล่อยแสงช่วง UV (ความยาวคลื่นน้อยกว่า 400 nm) ออกมาด้วย
การใช้หลอดไส้ เลนส์พลาสติกจึงหมองเร็วกว่าการใช้หลอด LED
หลอด ยกตัวอย่าง philips นั้นทำมาจาก quartz  แสดงว่าการเสื่อมสภาพของโคมที่ใช้ led กับ หลอด philips จะเสื่อมสภาพด้วยอัตราที่เท่ากัน ถูกมั้ยครับ

เอาตามความจริงวิทยาศาสตร์นะครับ ผมไม่ค่อยเชื่อโฆษณา เพราะเชื่อโฆษณาหรือพ่อค้าเยอะแล้วเจ็บปวดมากกว่ายิ้ม

ปกติหลอดต่างๆ ที่ใช้ในอุตสาหกรรม หรือเครื่องมือวิเคราะห์ทางเคมี ที่ใช้หลอดความร้อนสูง หลอดพลังงานสูงๆ
จะใช้ QUARTZ ทำหลอด เพื่อคุณสมบัติ ใส แข็งแรง ทนความร้อน ไม่เปราะง่าย ถ้าใช้แก้วธรรมดา หลอดจะแตกเร็ว

ส่วนคุณสมบัติด้านแสง
QUARTZ ให้ UV ผ่านได้ 90% ที่ความยาวคลื่น 250 nm ขึ้นไปถึง 1000 nm

ถ้าความยาวคลื่น 200 nm - 250 nm (ช่วง UV-C) QUARTZ จะให้ UV ผ่านได้ 40-90 % นั่นคือ QUARTZ จะดูดกลืนแสง UV ได้ที่ช่วง 200-250 nm เพียง 10-60% เท่านั้น

ดังนั้น QUARTZ จะกัน UV ได้เพียง 10-60 % ที่ช่วง 200-250 nm

แต่แสงจากหลอด xenon จะมีความยาวคลื่น 300 - 1000 nm

ดังนั้นหลอดไส้หรือซีนอนที่ใช้ QUARTZ ทำ จะกัน UV ที่ปล่อยมาจากหลอดไม่ได้
(ถ้าจะกันได้ ต้องนำไปผสมกับวัสดุอื่นซึ่งยังไม่ใช่ราคาปัจจุบัน หรือถ้าราคาพอจับต้องได้ คงอัดโฆษณาจนหูคนฟังชาแล้ว)

ตอบคำถามครับ
หลอด Xenon ที่ใช้ quartz ผลิต ทำให้สภาพโคมพลาสติกเสื่อมเร็วกว่า LED ครับ

ผมอธิบายพอเข้าใจไหมครับ
ชัดเจน ขอบคุณครับ คำตอบแบบนี้จะเป็นประโยชน์ต่อคนหลายคนครับ

ออฟไลน์ หมับเข้าให้

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 433
Re: ไฟหน้ารถ เมื่อไหร่จะพัฒนาไม่ให้มันเหลืองซักที
« ตอบกลับ #33 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2015, 13:33:36 »
เปลี่ยนเป็นโคมกระจกรุ่นโบราณเลยครับ ไม่เหลืองหมอง

แต่กระจกมันขึ้นรูปให้สวยงามไม่ได้

คงจะใช้เวลานานครับกว่าจะพัฒนาให้พลาสติกที่ใช้ทำเลนส์ไม่เสื่อมเร็ว

ตัวเร่งปฏิกิริยาทำให้พลาสติกเสื่อมเร็วขึ้น มี
1. แสง โดยเฉพาะแสงยูวี
2. ความชื้น
3. ออกซิเจน
4. อุณหภูมิ

ตอนนี้ก็ลดการเสื่อมโดยเปลี่ยนมาใช้หลอด LED ครับ
ซึ่งอุณหภูมิต่ำ และแสงมีความยาวคลื่น (wavelength) ยาว
พลาสติกจะได้หมองช้าลง แต่ยังไงใช้ไปนานๆ ก็หมองอยู่ดี
LED แสงเหลืองน้อยลง อมฟ้ามากขึ้น ความยาวคลื่นต้องสั้นลงรึเปล่าครับ  โคมบางทีก็มีอาการขึ้นเหมือนของ จขกท  ซึ่งอาการนี้น่าจะเกิดจากความร้อนของตัวโคมนะครับ

ขออภัยที่ตอบไม่หมด

ใช่ครับ ถ้าดูเฉพาะสีของแสง LED ที่มีแสงสีอมฟ้า ความยาวคลื่น (460 nm) จะสั้นกว่าแสงออกเหลืองของหลอดไส้ (580 nm)

ถ้าดูความยาวคลื่นแล้วจะพบว่า LED ส่วนใหญ่ให้แสงที่ความยาวคลื่น 400-700 nm ซึ่งจะไม่มีการปล่อย UV ออกมาเลย
หากใช้ LED แสงสีขาวอมฟ้าจะให้ความยาวคลื่น 460 nm ตามที่กล่าวไปแล้ว

แต่ถ้าเป็นหลอดไส้ แสงจะออกขาวอมเหลือง ควรมีความยาวคลื่น ที่ 580 nm ตามทฤษฏี
แต่หลอดไส้ มีการปล่อยแสงช่วง UV (ความยาวคลื่นน้อยกว่า 400 nm) ออกมาด้วย
การใช้หลอดไส้ เลนส์พลาสติกจึงหมองเร็วกว่าการใช้หลอด LED
หลอด ยกตัวอย่าง philips นั้นทำมาจาก quartz  แสดงว่าการเสื่อมสภาพของโคมที่ใช้ led กับ หลอด philips จะเสื่อมสภาพด้วยอัตราที่เท่ากัน ถูกมั้ยครับ

เอาตามความจริงวิทยาศาสตร์นะครับ ผมไม่ค่อยเชื่อโฆษณา เพราะเชื่อโฆษณาหรือพ่อค้าเยอะแล้วเจ็บปวดมากกว่ายิ้ม

ปกติหลอดต่างๆ ที่ใช้ในอุตสาหกรรม หรือเครื่องมือวิเคราะห์ทางเคมี ที่ใช้หลอดความร้อนสูง หลอดพลังงานสูงๆ
จะใช้ QUARTZ ทำหลอด เพื่อคุณสมบัติ ใส แข็งแรง ทนความร้อน ไม่เปราะง่าย ถ้าใช้แก้วธรรมดา หลอดจะแตกเร็ว

ส่วนคุณสมบัติด้านแสง
QUARTZ ให้ UV ผ่านได้ 90% ที่ความยาวคลื่น 250 nm ขึ้นไปถึง 1000 nm

ถ้าความยาวคลื่น 200 nm - 250 nm (ช่วง UV-C) QUARTZ จะให้ UV ผ่านได้ 40-90 % นั่นคือ QUARTZ จะดูดกลืนแสง UV ได้ที่ช่วง 200-250 nm เพียง 10-60% เท่านั้น

ดังนั้น QUARTZ จะกัน UV ได้เพียง 10-60 % ที่ช่วง 200-250 nm

แต่แสงจากหลอด xenon จะมีความยาวคลื่น 300 - 1000 nm

ดังนั้นหลอดไส้หรือซีนอนที่ใช้ QUARTZ ทำ จะกัน UV ที่ปล่อยมาจากหลอดไม่ได้
(ถ้าจะกันได้ ต้องนำไปผสมกับวัสดุอื่นซึ่งยังไม่ใช่ราคาปัจจุบัน หรือถ้าราคาพอจับต้องได้ คงอัดโฆษณาจนหูคนฟังชาแล้ว)

ตอบคำถามครับ
หลอด Xenon ที่ใช้ quartz ผลิต ทำให้สภาพโคมพลาสติกเสื่อมเร็วกว่า LED ครับ

ผมอธิบายพอเข้าใจไหมครับ
ชัดเจน ขอบคุณครับ คำตอบแบบนี้จะเป็นประโยชน์ต่อคนหลายคนครับ

ขอบคุณทุกคนครับ

ออฟไลน์ TorTy

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,992
Re: ไฟหน้ารถ เมื่อไหร่จะพัฒนาไม่ให้มันเหลืองซักที
« ตอบกลับ #34 เมื่อ: มิถุนายน 11, 2015, 23:07:57 »
ถ้าเหลืองแล้วอยากแก้ไขผมเพิ่งเอาคันเก่าที่บ้านไปทำมาเค้าจะขัดแล็คเกอร์ที่เสื่อมสภาพออกหมดครับ
แล้วพ่นทับใหม่อบแสงยูวีให้แก้งโดยร้านที่ผมทำเป็นแบบเดียวกับโรงงานใช้ทำมาใสเหมือนใหม่ครับรับประกัน 2 ปี
เห็นบางที่ 5 ปีก็มี