ผู้เขียน หัวข้อ: รถในการผลิตแบบ Mass Product ทำตลาดทั่วไป ตั้งโรงงานในประเทศที่ค่าแรงไม่สูง  (อ่าน 4780 ครั้ง)

ออฟไลน์ Auto

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,629
ผมมีข้อสังเกตุจากบางความเห็นที่มักอยากให้บ้านเราทำรถแพง  ๆ  ออกมาขายสร้างมุลค่าเพิ่ม     

แต่ทีนี้ผมมาลองมองกลับไปดู   รถในการผลิตแบบ Mass Product   ทำตลาดทั่วไป  ตั้งโรงงานในประเทศที่ค่าแรงไม่สูงทั้งนั้นเลย    อย่างเช่น  TOYOTA  จะมีโรงงานในไทย  อินโด  เวียดนาม อินเดีย ปากีสถาน แอฟริกาใต้  อาร์เจนติน่า พวกนี้เป็นโรงงานที่มีค่าแรงคนงานไม่สูงและสามารถผลิตรถแบบ Mass production ออกมาได้          ถ้าดูตัวอย่าง  โรงงานในออสเตรเลีบอุตสากรรมยานยนต์นั้นปิดไปแล้วเพราะค่าแรงสูงไม่เหมาะกับการแข่งขัน                    ถ้าดูให้ดีเท่ากับว่ามันจะอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีค่าแรงถูก  ๆ สำหรับโรงงานผลิตรถยนต์            ถ้ายกเว้นรถบางรุ่นหรือรถที่มีราคาแพงเป็นการเฉพาะจึงจะผลิตในประเทศที่ต้นทางราคาสูง อันนั้นไม่ต้องห่วงเรื่องค่าแรง                  ผมว่าประเทศเราถ้ามีค่าแรงเขยิบห่างออกไปมาก  ๆ  กว่านี้  โรงงานผลิตรถยนต์ก็คงย้ายฐานไปประเทศอื่นเหมือนกับที่เกิดในออสเตรเลียเหมือนกัน

ออฟไลน์ pladaek

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,020
  • FF1.5SMG
ถ้าค่าแรงขึ้น ก็มีสิทธิ์เป็นไปได้ครับ..
ยิ่งบ้านใกล้เรือนเคียงค่าแรงยิ่งถูกกว่าบ้านเรา
แต่ไทยยังได้เปรียบในเรื่องโลจิสติกอยู่ครับ..

หรืออาจจะไม่มีการย้ายฐาน
แต่ถ้ามีโครงการใหม่ ก็อาจจะไม่มีการลงทุนในไทย

เป็นไปได้ทุกทาง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและความเสี่ยง
ไม่ได้ขับรถเพื่อทำเวลาที่ดีที่สุด.. แต่ขับรถเพื่อเจอช่วงเวลาที่ดีที่สุด..

ออฟไลน์ nuntapon.s

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,910
    • อีเมล์
มองแค่ค่าแรงมิติเดียวไม่ใช่คำตอบของทั้งหมดครับ  มันต้องเรื่องผลผลิตและคุณภาพงานที่ได้รับจากการจ้างงานด้วย  พูดง่ายๆคือproductivityสูงแค่ไหน  ผู้ประกอบเขามีกำลังจ่ายได้มากกว่านี้ครับถ้าเรามีทักษะมากขึ้น

ไอ้ที่ผ่านมามันขึ้นแต่ค่าแรง คนทำงานทำได้เท่าเดิม  ถ้าเป็นแบบนี้ต่อไปเขาก็ต้องเลือกทางเลือกที่ดีกว่าอยู่แล้ว  ยิ่งเป้าหมายเขาคือmaximize profitอยู่แล้วด้วย

ส่วนเรื่องรถหรูรถแพงอันนั้นทำได้ก็ดีครับ  ไม่ใช่ให้รถธรรมดาขายแพงๆนะครับ  หมายถึงรถที่ต้องใช้ทักษะและเทคโนโลยีสูงๆอันนี้มันเท่ากับเป็นการยกระดับแรงงานและอุตสาหกรรมในไทยไปในตัวอยู่แล้ว

ออฟไลน์ gappom

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 189
ญี่ปุ่น เกาหลี จีนและ usa มีค่าแรงสูงและเป็นทั้งฐาน R&D/Mass production
ประเทศที่เป็นเจ้าของค่ายรถยนต์ยังมีการผลิต mass prod ในประเทศอยู่
การใช้ auto machine และแรงงานต่างชาติ ช่วยให้ผลิตอยู่ได้
ค่าแรงสูง จึงไม่ใช่ปัจจัยเดียวที่ย้ายฐานการผลิตหนี

ฐานการผลิตอย่าง ไทย อินโด เวียดนาม ออสเตเลีย มีค่าแรงสูงขึ้น
แต่ดึงเงินลงทุนจากค่ายรถยนต์ต่างชาติ ด้วยการสนับสนุนด้านต่างๆ
อย่างไทย ให้สิทธิ์ทางภาษี มากมายๆๆๆๆๆ เพื่อจูงใจให้ค่ายรถยนต์ลงทุนและอยู่ต่อ
แต่ออสเตเลีย บอกพอแล้ว หันไปเน้นทางอื่น

ไทยยังคงเป็นฐานการผลิต เป็นการง่ายที่จะเคลื่อนย้ายแรงงานต่างชาติ (รอบๆข้าง)
มากกว่าจะย้ายโรงงาน ซึ่งใช้เงินลงทุนมหาศาล



ออฟไลน์ Pegasus7700

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 3,815
อุตสรถยนต์ใช้สัดส่วนแรงงานทั้วไปน้อยกว่า อุตสาหกรรมที่ต้องการความชำนาญเช่น apparel , garment เป็นต้น
...ขอเป็นข้ารองพระบาททุกชาติไป...

MERCEDES BENZ W212 '12
FORD FOCUS 2.0 Gdi '13
HONDA Civic RS '20
VOLVO XC60 Hybrid Inscription '19
FORD EVEREST 2.0 Bi Turbo '22

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,423
    • อีเมล์


งานทุกงาน ล้วนต้องใช้ ทักษะ
แต่ ทักษะ ฝึกกันได้ครับ เค้าไม่ได้ จับลง ทำงานเลยถ้าไม่ฝึกฝนครับ
ดังนั้น ค่าแรง สำคัญครับ

งานที่่ต้อง ใช้ คนเยอะๆ ร่วมกับ เครื่อง จักร
คือ งานผลิต ลักษณะ ประกอบ และ ก่อสร้างครับ

ออฟไลน์ Dark Overlord

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,804
  • Hail to the darkside
ผมยังไม่คิดไกลขนาดนั้นครับ จริงๆ เราไม่ต้องมองออสเตรเลียแล้วรู้สึกกลัวเรื่องค่าแรงแพงจะทำให้บริษัทรถย้ายการผลิต
ผมว่ามันเป็นคนล่ะเรื่องกัน
รัฐบาลออสเตรเลียไม่ได้ปกป้องโรงงานผลิตในประเทศ แต่ยอมให้รถนำเข้าเข้ามาขายได้ในราคาที่คนซื้อได้
ถ้ารัฐบาลปกป้องแบบบ้านเราก็จะอัดภาษีแพงๆ เข้าไป ซึ่งก็จะทำให้คนจำเป็นต้องซื้อรถที่ผลิตในประเทศ

ส่วนการผลิตสำหรับส่งออกนี่ก็เป็นอีกส่วนนึง ซึ่งต้องดูเรื่องการแข่งขันต้นทุนค่าแรงเป็นหลักเหมือน
กับที่ข้าวเราต้องไปแข่งกับข้าวของประเทศอื่นๆ แต่อยากให้มองมุมนี้ครับว่า เมื่อค่ายรถตั้งโรงงานผลิตแล้ว
หลักๆ คือการผลิตเพื่อป้อนในประเทศ เพราะมันเสี่ยงน้อยกว่าการป้อนให้ต่างประเทศเป็นหลักเพราะการแกว่งของค่าเงิน
และภาวะเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนั้น ถ้ายอดขายในประเทศดี มั่นคง รัฐบาลไม่ปล่อยให้รถ CBU นำเข้าเข้ามาทำลายตลาด
อันนี้โรงงานในประเทศอยู่ได้แน่นอน เพราะทุกแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับเดียวกัน ถ้าประเทศนั้นๆ ปกติ demand ไม่เยอะ
เพราะคนน้อย แต่ละแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับที่อยู่ได้เหมือนๆ กัน

เพราะฉะนั้นประเทศที่เจริญแล้วค่าแรงแพงหูฉี่ ยังไงๆ ก็ยังมีโรงงานผลิตรถครับ ถ้ามีตลาดในประเทศที่โอเค
ก็ไปต่อได้ อย่าพูดว่า ใช้ยอดส่งออกในการเลี้ยงบริษัทเป็นหลัก แต่ยอดในประเทศน้อยก็ไม่เป็นไร เพราะความเสี่ยง
ทางด้านค่าเงินก็สูงกว่ามาก กำไรในประเทศของโรงงานเป็นสิ่งที่มั่นคงและแน่นอนกว่า แต่ถ้าในประเทศขายไม่ได้นี่
มีความเสี่ยงสูงที่จะต้องปิดโรงงานครับ

ส่วนการลงทุนใหม่ อันนี้ก็เป็นอีกเรื่อง เป็นคนล่ะเรื่องกับการย้ายโรงงานหรือการปิดโรงงาน
จะเห็นได้ว่าตอนนี้เงินลงทุนมีแต่ไปทางอินโด แต่สำหรับบ้านเราการลงทุนค่อนข้างชะงักชะงัน
เพราะผู้ลงทุนเห็นชัดเจนครับ ว่าประเทศไหนกำลังไปได้ดี ประเทศไหนต้องชะลอ หรือลดการลงทุน

ยอดในประเทศเป็นสิ่งสำคัญครับ เพราะถ้าพูดถึงการส่งออกอย่างเดียว จะไปผลิตที่ประเทศไหนก็ได้
จะย้ายไปที่ไหนก็ยังส่งออกไปที่เดิมได้ ถามว่าต้องง้อโรงงานในไทยมั้ย ถ้าหากยอดขายในประเทศไม่ดีเลย
ถ้าบริษัทแม่มองว่า หากย้ายโรงงานไปที่อินโด (สมมติ) แล้วยังส่งออกไปที่ประเทศต่างๆ ที่เคยส่งได้เหมือนกัน
และยอดขายภายในประเทศหากย้ายโรงงานไปอินโดดีกว่า เขาก็มีสิทธิ์ย้ายโรงงานแน่นอนครับ

ต้องดูอีกเคสนึงด้วยเช่น Mitsubishi ที่มีโรงงานในบ้านเราใหญ่ที่สุดที่ตั้งอยู่นอกประเทศญี่ปุ่น (ถ้าผมอ่านข่าวไม่ผิดนะครับ)
และเป็นฐานส่งออกสำคัญมาก แบบนี้ไม่ว่ายังไงก็คงจะสู้ตายในบ้านเรา ถ้ายอดขายสู้คู่แข่งไม่ได้ก็ต้องสู้ให้ได้
ความแน่นอนว่าโรงงานจะไม่ปิดไม่ย้ายไปไหนก็สูง แต่ด้านการลงทุน ช่วงนี้อาจจะไม่มีอะไรเพิ่มสำหรับบ้านเรา
อย่างตัวใหม่ ลูกครึ่่ง mini MPV ผสม crossover ก็ต้องนำเข้ามาจากอินโด ช่วงนี้มีแต่เงินไหลไปอินโด ค่ายที่จะลงทุน
เพิ่มในบ้านเราก็จะเป็นค่ายที่มั่นอกมั่นใจฐานลูกค้าในประเทศมากอย่าง Toyota, Honda และ เจ้ารองๆ อื่นๆ ที่รู้สึกว่า
ลูกค้าคนไทยถูกโฉลกกับรถของเขาๆ ก็จะเพิ่มการลงทุนเรื่อยๆ เช่น Mazda, Subaru

แต่บ้านเราค่อนข้างปกป้องโรงงานรถยนต์ดีครับ คงไม่ค่อยมีใครอยากย้ายออก เว้นแต่ว่า
ที่สุดของที่สุดจริงๆ ตอนนี้ก็ต้องจับตาดู Chevrolet ครับ ถ้า SUV, Pick up ทำได้ไม่ถึงเป้าที่คิดว่า
ควรจะทำได้ ก็คงมีคิดย้ายบ้างล่ะ แต่ผมไม่แน่ใจว่าพวกนี้ต้องมีการขายต่อโรงงานหรือมีคนมา takeover อะไรรึเปล่านะครับ

ออฟไลน์ HHHsung

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,385
จขกท. ก้มองการไกลดีครับ แต่ต้องไม่ลืมว่า การผลิตรถ 1 คัน ไม่ใช้ว่าจะจบเลย มันต้องมีการตลาด มีจุดขายผลักดันด้วย

ตัวอย่างการผลิตรถราคาแพง ในปัจจุบันอย่าง เฟอรารี่ หรือ แลมโบกินี่ ก็มาจากประเทศต้นแบบทั้งนั้น แล้วไทยเราหล่ะ

แถมกว่าที่เค้าจะมาถึงจุดนี้ ล้มลุก คลุกคลาน ขนาดไหน ไม่ใช่อยู่ๆ อยากจะผลิตก็ผลิตได้เลยครับ มันต้องมีขั้นมีตอน

ที่ผ่านมา รถที่ผลิตในประเทศ ยังมีคุณภาพพอใช้งาน ไม่ได้ดีเยี่ยม กว่าประเทศอื่น ถ้าอยากสร้างมูลค่าเพิ่มในการผลิต

แรงงานต้องมีมูลค่าเพิ่มก่อนครับ คิดง่าย คิดไกล ใครก็คิดได้ แล้วทางที่จะเดินไปหล่ะครับ จะให้ทำยังงัย

อยากเป็น specialist ถามหน่อยว่าเราเป็นหรือเปล่า ถ้าไม่คิดเอง ออกแบบเอง ใช้เทคโนโลยี ตัวเอง

ก็เป็นเบี้ยให้เค้าควบคุมไปตลอด คือเอาแค่เรื่มต้นว่า ออกแบบและผลิตรถยนต์ได้ด้วยตัวเอง โดยไม่พีงใคร

โดยที่รถมีคุณภาพดีทำได้มั้ย ถ้าทำไม่ได้ อุตสาหกรรมประเภทนี้ ไทยเราคงทำได้เพียงแค่เป็นแรงงานฝีมือเท่านั้นครับ

อย่าคิดพัฒนาต่อยอดไปไหนเลย เพราะมันเป็นไปไม่ได้
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 03, 2017, 14:22:54 โดย HHHsung »

MacH1

  • บุคคลทั่วไป
ผมยังไม่คิดไกลขนาดนั้นครับ จริงๆ เราไม่ต้องมองออสเตรเลียแล้วรู้สึกกลัวเรื่องค่าแรงแพงจะทำให้บริษัทรถย้ายการผลิต
ผมว่ามันเป็นคนล่ะเรื่องกัน
รัฐบาลออสเตรเลียไม่ได้ปกป้องโรงงานผลิตในประเทศ แต่ยอมให้รถนำเข้าเข้ามาขายได้ในราคาที่คนซื้อได้
ถ้ารัฐบาลปกป้องแบบบ้านเราก็จะอัดภาษีแพงๆ เข้าไป ซึ่งก็จะทำให้คนจำเป็นต้องซื้อรถที่ผลิตในประเทศ

ส่วนการผลิตสำหรับส่งออกนี่ก็เป็นอีกส่วนนึง ซึ่งต้องดูเรื่องการแข่งขันต้นทุนค่าแรงเป็นหลักเหมือน
กับที่ข้าวเราต้องไปแข่งกับข้าวของประเทศอื่นๆ แต่อยากให้มองมุมนี้ครับว่า เมื่อค่ายรถตั้งโรงงานผลิตแล้ว
หลักๆ คือการผลิตเพื่อป้อนในประเทศ เพราะมันเสี่ยงน้อยกว่าการป้อนให้ต่างประเทศเป็นหลักเพราะการแกว่งของค่าเงิน
และภาวะเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนั้น ถ้ายอดขายในประเทศดี มั่นคง รัฐบาลไม่ปล่อยให้รถ CBU นำเข้าเข้ามาทำลายตลาด
อันนี้โรงงานในประเทศอยู่ได้แน่นอน เพราะทุกแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับเดียวกัน ถ้าประเทศนั้นๆ ปกติ demand ไม่เยอะ
เพราะคนน้อย แต่ละแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับที่อยู่ได้เหมือนๆ กัน

เพราะฉะนั้นประเทศที่เจริญแล้วค่าแรงแพงหูฉี่ ยังไงๆ ก็ยังมีโรงงานผลิตรถครับ ถ้ามีตลาดในประเทศที่โอเค
ก็ไปต่อได้ อย่าพูดว่า ใช้ยอดส่งออกในการเลี้ยงบริษัทเป็นหลัก แต่ยอดในประเทศน้อยก็ไม่เป็นไร เพราะความเสี่ยง
ทางด้านค่าเงินก็สูงกว่ามาก กำไรในประเทศของโรงงานเป็นสิ่งที่มั่นคงและแน่นอนกว่า แต่ถ้าในประเทศขายไม่ได้นี่
มีความเสี่ยงสูงที่จะต้องปิดโรงงานครับ

ส่วนการลงทุนใหม่ อันนี้ก็เป็นอีกเรื่อง เป็นคนล่ะเรื่องกับการย้ายโรงงานหรือการปิดโรงงาน
จะเห็นได้ว่าตอนนี้เงินลงทุนมีแต่ไปทางอินโด แต่สำหรับบ้านเราการลงทุนค่อนข้างชะงักชะงัน
เพราะผู้ลงทุนเห็นชัดเจนครับ ว่าประเทศไหนกำลังไปได้ดี ประเทศไหนต้องชะลอ หรือลดการลงทุน

ยอดในประเทศเป็นสิ่งสำคัญครับ เพราะถ้าพูดถึงการส่งออกอย่างเดียว จะไปผลิตที่ประเทศไหนก็ได้
จะย้ายไปที่ไหนก็ยังส่งออกไปที่เดิมได้ ถามว่าต้องง้อโรงงานในไทยมั้ย ถ้าหากยอดขายในประเทศไม่ดีเลย
ถ้าบริษัทแม่มองว่า หากย้ายโรงงานไปที่อินโด (สมมติ) แล้วยังส่งออกไปที่ประเทศต่างๆ ที่เคยส่งได้เหมือนกัน
และยอดขายภายในประเทศหากย้ายโรงงานไปอินโดดีกว่า เขาก็มีสิทธิ์ย้ายโรงงานแน่นอนครับ

ต้องดูอีกเคสนึงด้วยเช่น Mitsubishi ที่มีโรงงานในบ้านเราใหญ่ที่สุดที่ตั้งอยู่นอกประเทศญี่ปุ่น (ถ้าผมอ่านข่าวไม่ผิดนะครับ)
และเป็นฐานส่งออกสำคัญมาก แบบนี้ไม่ว่ายังไงก็คงจะสู้ตายในบ้านเรา ถ้ายอดขายสู้คู่แข่งไม่ได้ก็ต้องสู้ให้ได้
ความแน่นอนว่าโรงงานจะไม่ปิดไม่ย้ายไปไหนก็สูง แต่ด้านการลงทุน ช่วงนี้อาจจะไม่มีอะไรเพิ่มสำหรับบ้านเรา
อย่างตัวใหม่ ลูกครึ่่ง mini MPV ผสม crossover ก็ต้องนำเข้ามาจากอินโด ช่วงนี้มีแต่เงินไหลไปอินโด ค่ายที่จะลงทุน
เพิ่มในบ้านเราก็จะเป็นค่ายที่มั่นอกมั่นใจฐานลูกค้าในประเทศมากอย่าง Toyota, Honda และ เจ้ารองๆ อื่นๆ ที่รู้สึกว่า
ลูกค้าคนไทยถูกโฉลกกับรถของเขาๆ ก็จะเพิ่มการลงทุนเรื่อยๆ เช่น Mazda, Subaru

แต่บ้านเราค่อนข้างปกป้องโรงงานรถยนต์ดีครับ คงไม่ค่อยมีใครอยากย้ายออก เว้นแต่ว่า
ที่สุดของที่สุดจริงๆ ตอนนี้ก็ต้องจับตาดู Chevrolet ครับ ถ้า SUV, Pick up ทำได้ไม่ถึงเป้าที่คิดว่า
ควรจะทำได้ ก็คงมีคิดย้ายบ้างล่ะ แต่ผมไม่แน่ใจว่าพวกนี้ต้องมีการขายต่อโรงงานหรือมีคนมา takeover อะไรรึเปล่านะครับ

ขอเสริมว่าของเราเป็น hyper protectionism ปกป้องหัวทิ่มหัวแตก ตลอดกาลและตลอดไป (infant industry argument!?) แต่ไม่เคยพัฒนา human capital เพื่อให้สามารถขยับขึ้นไปใน value chain ที่ดีกว่านี้ได้ มีเวลาให้ทำมาตลอด 40 กว่าปี แต่จะเอาง่าย เอาสบายอย่างเดียว

ที่แย่อีกอย่างคือการคลั่งไคล้ hyper protectionism เปิดช่องว่างให้ทั้งพวกเจ้าตลาด และค่ายรถอื่นๆเอาเปรียบ มัดมือชกผู้บริโภคอย่างสบายๆ  พูดจาแถลงข่าวแบบทื่อๆ ดูถูกผู้บริโภค

บ้านเราอวย monopoly ครับ ไม่ชอบ free market economy   

ออฟไลน์ e:smart Hybrid

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 3,705
ผมยังไม่คิดไกลขนาดนั้นครับ จริงๆ เราไม่ต้องมองออสเตรเลียแล้วรู้สึกกลัวเรื่องค่าแรงแพงจะทำให้บริษัทรถย้ายการผลิต
ผมว่ามันเป็นคนล่ะเรื่องกัน
รัฐบาลออสเตรเลียไม่ได้ปกป้องโรงงานผลิตในประเทศ แต่ยอมให้รถนำเข้าเข้ามาขายได้ในราคาที่คนซื้อได้
ถ้ารัฐบาลปกป้องแบบบ้านเราก็จะอัดภาษีแพงๆ เข้าไป ซึ่งก็จะทำให้คนจำเป็นต้องซื้อรถที่ผลิตในประเทศ

ส่วนการผลิตสำหรับส่งออกนี่ก็เป็นอีกส่วนนึง ซึ่งต้องดูเรื่องการแข่งขันต้นทุนค่าแรงเป็นหลักเหมือน
กับที่ข้าวเราต้องไปแข่งกับข้าวของประเทศอื่นๆ แต่อยากให้มองมุมนี้ครับว่า เมื่อค่ายรถตั้งโรงงานผลิตแล้ว
หลักๆ คือการผลิตเพื่อป้อนในประเทศ เพราะมันเสี่ยงน้อยกว่าการป้อนให้ต่างประเทศเป็นหลักเพราะการแกว่งของค่าเงิน
และภาวะเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนั้น ถ้ายอดขายในประเทศดี มั่นคง รัฐบาลไม่ปล่อยให้รถ CBU นำเข้าเข้ามาทำลายตลาด
อันนี้โรงงานในประเทศอยู่ได้แน่นอน เพราะทุกแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับเดียวกัน ถ้าประเทศนั้นๆ ปกติ demand ไม่เยอะ
เพราะคนน้อย แต่ละแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับที่อยู่ได้เหมือนๆ กัน

เพราะฉะนั้นประเทศที่เจริญแล้วค่าแรงแพงหูฉี่ ยังไงๆ ก็ยังมีโรงงานผลิตรถครับ ถ้ามีตลาดในประเทศที่โอเค
ก็ไปต่อได้ อย่าพูดว่า ใช้ยอดส่งออกในการเลี้ยงบริษัทเป็นหลัก แต่ยอดในประเทศน้อยก็ไม่เป็นไร เพราะความเสี่ยง
ทางด้านค่าเงินก็สูงกว่ามาก กำไรในประเทศของโรงงานเป็นสิ่งที่มั่นคงและแน่นอนกว่า แต่ถ้าในประเทศขายไม่ได้นี่
มีความเสี่ยงสูงที่จะต้องปิดโรงงานครับ

ส่วนการลงทุนใหม่ อันนี้ก็เป็นอีกเรื่อง เป็นคนล่ะเรื่องกับการย้ายโรงงานหรือการปิดโรงงาน
จะเห็นได้ว่าตอนนี้เงินลงทุนมีแต่ไปทางอินโด แต่สำหรับบ้านเราการลงทุนค่อนข้างชะงักชะงัน
เพราะผู้ลงทุนเห็นชัดเจนครับ ว่าประเทศไหนกำลังไปได้ดี ประเทศไหนต้องชะลอ หรือลดการลงทุน

ยอดในประเทศเป็นสิ่งสำคัญครับ เพราะถ้าพูดถึงการส่งออกอย่างเดียว จะไปผลิตที่ประเทศไหนก็ได้
จะย้ายไปที่ไหนก็ยังส่งออกไปที่เดิมได้ ถามว่าต้องง้อโรงงานในไทยมั้ย ถ้าหากยอดขายในประเทศไม่ดีเลย
ถ้าบริษัทแม่มองว่า หากย้ายโรงงานไปที่อินโด (สมมติ) แล้วยังส่งออกไปที่ประเทศต่างๆ ที่เคยส่งได้เหมือนกัน
และยอดขายภายในประเทศหากย้ายโรงงานไปอินโดดีกว่า เขาก็มีสิทธิ์ย้ายโรงงานแน่นอนครับ

ต้องดูอีกเคสนึงด้วยเช่น Mitsubishi ที่มีโรงงานในบ้านเราใหญ่ที่สุดที่ตั้งอยู่นอกประเทศญี่ปุ่น (ถ้าผมอ่านข่าวไม่ผิดนะครับ)
และเป็นฐานส่งออกสำคัญมาก แบบนี้ไม่ว่ายังไงก็คงจะสู้ตายในบ้านเรา ถ้ายอดขายสู้คู่แข่งไม่ได้ก็ต้องสู้ให้ได้
ความแน่นอนว่าโรงงานจะไม่ปิดไม่ย้ายไปไหนก็สูง แต่ด้านการลงทุน ช่วงนี้อาจจะไม่มีอะไรเพิ่มสำหรับบ้านเรา
อย่างตัวใหม่ ลูกครึ่่ง mini MPV ผสม crossover ก็ต้องนำเข้ามาจากอินโด ช่วงนี้มีแต่เงินไหลไปอินโด ค่ายที่จะลงทุน
เพิ่มในบ้านเราก็จะเป็นค่ายที่มั่นอกมั่นใจฐานลูกค้าในประเทศมากอย่าง Toyota, Honda และ เจ้ารองๆ อื่นๆ ที่รู้สึกว่า
ลูกค้าคนไทยถูกโฉลกกับรถของเขาๆ ก็จะเพิ่มการลงทุนเรื่อยๆ เช่น Mazda, Subaru

แต่บ้านเราค่อนข้างปกป้องโรงงานรถยนต์ดีครับ คงไม่ค่อยมีใครอยากย้ายออก เว้นแต่ว่า
ที่สุดของที่สุดจริงๆ ตอนนี้ก็ต้องจับตาดู Chevrolet ครับ ถ้า SUV, Pick up ทำได้ไม่ถึงเป้าที่คิดว่า
ควรจะทำได้ ก็คงมีคิดย้ายบ้างล่ะ แต่ผมไม่แน่ใจว่าพวกนี้ต้องมีการขายต่อโรงงานหรือมีคนมา takeover อะไรรึเปล่านะครับ

ขอเสริมว่าของเราเป็น hyper protectionism ปกป้องหัวทิ่มหัวแตก ตลอดกาลและตลอดไป (infant industry argument!?) แต่ไม่เคยพัฒนา human capital เพื่อให้สามารถขยับขึ้นไปใน value chain ที่ดีกว่านี้ได้ มีเวลาให้ทำมาตลอด 40 กว่าปี แต่จะเอาง่าย เอาสบายอย่างเดียว

ที่แย่อีกอย่างคือการคลั่งไคล้ hyper protectionism เปิดช่องว่างให้ทั้งพวกเจ้าตลาด และค่ายรถอื่นๆเอาเปรียบ มัดมือชกผู้บริโภคอย่างสบายๆ  พูดจาแถลงข่าวแบบทื่อๆ ดูถูกผู้บริโภค

บ้านเราอวย monopoly ครับ ไม่ชอบ free market economy

ผมว่าแบบนี้ก็ดีนะ จริงๆ ผมอยากให้ป้องกันรถที่มาจาก อินโด มาเลย์ด้วยซ้ำ แต่ก็ถือว่าเราก็ส่งไปให้เขาแล้ว ก็ต้องได้รับตอบกลับมา

ส่วนอินเดีย ญี่ปุ่น จีน และอื่นๆ ป้องกันให้มากที่สุดคับ

MacH1

  • บุคคลทั่วไป
ผมยังไม่คิดไกลขนาดนั้นครับ จริงๆ เราไม่ต้องมองออสเตรเลียแล้วรู้สึกกลัวเรื่องค่าแรงแพงจะทำให้บริษัทรถย้ายการผลิต
ผมว่ามันเป็นคนล่ะเรื่องกัน
รัฐบาลออสเตรเลียไม่ได้ปกป้องโรงงานผลิตในประเทศ แต่ยอมให้รถนำเข้าเข้ามาขายได้ในราคาที่คนซื้อได้
ถ้ารัฐบาลปกป้องแบบบ้านเราก็จะอัดภาษีแพงๆ เข้าไป ซึ่งก็จะทำให้คนจำเป็นต้องซื้อรถที่ผลิตในประเทศ

ส่วนการผลิตสำหรับส่งออกนี่ก็เป็นอีกส่วนนึง ซึ่งต้องดูเรื่องการแข่งขันต้นทุนค่าแรงเป็นหลักเหมือน
กับที่ข้าวเราต้องไปแข่งกับข้าวของประเทศอื่นๆ แต่อยากให้มองมุมนี้ครับว่า เมื่อค่ายรถตั้งโรงงานผลิตแล้ว
หลักๆ คือการผลิตเพื่อป้อนในประเทศ เพราะมันเสี่ยงน้อยกว่าการป้อนให้ต่างประเทศเป็นหลักเพราะการแกว่งของค่าเงิน
และภาวะเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนั้น ถ้ายอดขายในประเทศดี มั่นคง รัฐบาลไม่ปล่อยให้รถ CBU นำเข้าเข้ามาทำลายตลาด
อันนี้โรงงานในประเทศอยู่ได้แน่นอน เพราะทุกแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับเดียวกัน ถ้าประเทศนั้นๆ ปกติ demand ไม่เยอะ
เพราะคนน้อย แต่ละแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับที่อยู่ได้เหมือนๆ กัน

เพราะฉะนั้นประเทศที่เจริญแล้วค่าแรงแพงหูฉี่ ยังไงๆ ก็ยังมีโรงงานผลิตรถครับ ถ้ามีตลาดในประเทศที่โอเค
ก็ไปต่อได้ อย่าพูดว่า ใช้ยอดส่งออกในการเลี้ยงบริษัทเป็นหลัก แต่ยอดในประเทศน้อยก็ไม่เป็นไร เพราะความเสี่ยง
ทางด้านค่าเงินก็สูงกว่ามาก กำไรในประเทศของโรงงานเป็นสิ่งที่มั่นคงและแน่นอนกว่า แต่ถ้าในประเทศขายไม่ได้นี่
มีความเสี่ยงสูงที่จะต้องปิดโรงงานครับ

ส่วนการลงทุนใหม่ อันนี้ก็เป็นอีกเรื่อง เป็นคนล่ะเรื่องกับการย้ายโรงงานหรือการปิดโรงงาน
จะเห็นได้ว่าตอนนี้เงินลงทุนมีแต่ไปทางอินโด แต่สำหรับบ้านเราการลงทุนค่อนข้างชะงักชะงัน
เพราะผู้ลงทุนเห็นชัดเจนครับ ว่าประเทศไหนกำลังไปได้ดี ประเทศไหนต้องชะลอ หรือลดการลงทุน

ยอดในประเทศเป็นสิ่งสำคัญครับ เพราะถ้าพูดถึงการส่งออกอย่างเดียว จะไปผลิตที่ประเทศไหนก็ได้
จะย้ายไปที่ไหนก็ยังส่งออกไปที่เดิมได้ ถามว่าต้องง้อโรงงานในไทยมั้ย ถ้าหากยอดขายในประเทศไม่ดีเลย
ถ้าบริษัทแม่มองว่า หากย้ายโรงงานไปที่อินโด (สมมติ) แล้วยังส่งออกไปที่ประเทศต่างๆ ที่เคยส่งได้เหมือนกัน
และยอดขายภายในประเทศหากย้ายโรงงานไปอินโดดีกว่า เขาก็มีสิทธิ์ย้ายโรงงานแน่นอนครับ

ต้องดูอีกเคสนึงด้วยเช่น Mitsubishi ที่มีโรงงานในบ้านเราใหญ่ที่สุดที่ตั้งอยู่นอกประเทศญี่ปุ่น (ถ้าผมอ่านข่าวไม่ผิดนะครับ)
และเป็นฐานส่งออกสำคัญมาก แบบนี้ไม่ว่ายังไงก็คงจะสู้ตายในบ้านเรา ถ้ายอดขายสู้คู่แข่งไม่ได้ก็ต้องสู้ให้ได้
ความแน่นอนว่าโรงงานจะไม่ปิดไม่ย้ายไปไหนก็สูง แต่ด้านการลงทุน ช่วงนี้อาจจะไม่มีอะไรเพิ่มสำหรับบ้านเรา
อย่างตัวใหม่ ลูกครึ่่ง mini MPV ผสม crossover ก็ต้องนำเข้ามาจากอินโด ช่วงนี้มีแต่เงินไหลไปอินโด ค่ายที่จะลงทุน
เพิ่มในบ้านเราก็จะเป็นค่ายที่มั่นอกมั่นใจฐานลูกค้าในประเทศมากอย่าง Toyota, Honda และ เจ้ารองๆ อื่นๆ ที่รู้สึกว่า
ลูกค้าคนไทยถูกโฉลกกับรถของเขาๆ ก็จะเพิ่มการลงทุนเรื่อยๆ เช่น Mazda, Subaru

แต่บ้านเราค่อนข้างปกป้องโรงงานรถยนต์ดีครับ คงไม่ค่อยมีใครอยากย้ายออก เว้นแต่ว่า
ที่สุดของที่สุดจริงๆ ตอนนี้ก็ต้องจับตาดู Chevrolet ครับ ถ้า SUV, Pick up ทำได้ไม่ถึงเป้าที่คิดว่า
ควรจะทำได้ ก็คงมีคิดย้ายบ้างล่ะ แต่ผมไม่แน่ใจว่าพวกนี้ต้องมีการขายต่อโรงงานหรือมีคนมา takeover อะไรรึเปล่านะครับ

ขอเสริมว่าของเราเป็น hyper protectionism ปกป้องหัวทิ่มหัวแตก ตลอดกาลและตลอดไป (infant industry argument!?) แต่ไม่เคยพัฒนา human capital เพื่อให้สามารถขยับขึ้นไปใน value chain ที่ดีกว่านี้ได้ มีเวลาให้ทำมาตลอด 40 กว่าปี แต่จะเอาง่าย เอาสบายอย่างเดียว

ที่แย่อีกอย่างคือการคลั่งไคล้ hyper protectionism เปิดช่องว่างให้ทั้งพวกเจ้าตลาด และค่ายรถอื่นๆเอาเปรียบ มัดมือชกผู้บริโภคอย่างสบายๆ  พูดจาแถลงข่าวแบบทื่อๆ ดูถูกผู้บริโภค

บ้านเราอวย monopoly ครับ ไม่ชอบ free market economy

ผมว่าแบบนี้ก็ดีนะ จริงๆ ผมอยากให้ป้องกันรถที่มาจาก อินโด มาเลย์ด้วยซ้ำ แต่ก็ถือว่าเราก็ส่งไปให้เขาแล้ว ก็ต้องได้รับตอบกลับมา

ส่วนอินเดีย ญี่ปุ่น จีน และอื่นๆ ป้องกันให้มากที่สุดคับ

ถูกมัดมือชกให้ใช้รถ คุณภาพ สเปค สมรรถนะด้อยกว่าโลกที่หนึ่ง ทั้งรถนำเข้าและรถประกอบเอง ผมไม่เรียกว่าดีครับ 

Hyper protectionism ดีต่อผู้บริโภคมาตลอดสี่สิบกว่าปีจริงหรือ??? อันนี้น่าคิดครับ  แต่ก็นะฝั่งผู้ผลิต ผู้ทำชิ้นส่วนยังไงก็อวยกีกกันการค้าหัวทิ่มอยู่แล้ว แม้ว่ากำลังจะตกขบวน full ev LOL

ออฟไลน์ e:smart Hybrid

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 3,705
ผมยังไม่คิดไกลขนาดนั้นครับ จริงๆ เราไม่ต้องมองออสเตรเลียแล้วรู้สึกกลัวเรื่องค่าแรงแพงจะทำให้บริษัทรถย้ายการผลิต
ผมว่ามันเป็นคนล่ะเรื่องกัน
รัฐบาลออสเตรเลียไม่ได้ปกป้องโรงงานผลิตในประเทศ แต่ยอมให้รถนำเข้าเข้ามาขายได้ในราคาที่คนซื้อได้
ถ้ารัฐบาลปกป้องแบบบ้านเราก็จะอัดภาษีแพงๆ เข้าไป ซึ่งก็จะทำให้คนจำเป็นต้องซื้อรถที่ผลิตในประเทศ

ส่วนการผลิตสำหรับส่งออกนี่ก็เป็นอีกส่วนนึง ซึ่งต้องดูเรื่องการแข่งขันต้นทุนค่าแรงเป็นหลักเหมือน
กับที่ข้าวเราต้องไปแข่งกับข้าวของประเทศอื่นๆ แต่อยากให้มองมุมนี้ครับว่า เมื่อค่ายรถตั้งโรงงานผลิตแล้ว
หลักๆ คือการผลิตเพื่อป้อนในประเทศ เพราะมันเสี่ยงน้อยกว่าการป้อนให้ต่างประเทศเป็นหลักเพราะการแกว่งของค่าเงิน
และภาวะเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนั้น ถ้ายอดขายในประเทศดี มั่นคง รัฐบาลไม่ปล่อยให้รถ CBU นำเข้าเข้ามาทำลายตลาด
อันนี้โรงงานในประเทศอยู่ได้แน่นอน เพราะทุกแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับเดียวกัน ถ้าประเทศนั้นๆ ปกติ demand ไม่เยอะ
เพราะคนน้อย แต่ละแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับที่อยู่ได้เหมือนๆ กัน

เพราะฉะนั้นประเทศที่เจริญแล้วค่าแรงแพงหูฉี่ ยังไงๆ ก็ยังมีโรงงานผลิตรถครับ ถ้ามีตลาดในประเทศที่โอเค
ก็ไปต่อได้ อย่าพูดว่า ใช้ยอดส่งออกในการเลี้ยงบริษัทเป็นหลัก แต่ยอดในประเทศน้อยก็ไม่เป็นไร เพราะความเสี่ยง
ทางด้านค่าเงินก็สูงกว่ามาก กำไรในประเทศของโรงงานเป็นสิ่งที่มั่นคงและแน่นอนกว่า แต่ถ้าในประเทศขายไม่ได้นี่
มีความเสี่ยงสูงที่จะต้องปิดโรงงานครับ

ส่วนการลงทุนใหม่ อันนี้ก็เป็นอีกเรื่อง เป็นคนล่ะเรื่องกับการย้ายโรงงานหรือการปิดโรงงาน
จะเห็นได้ว่าตอนนี้เงินลงทุนมีแต่ไปทางอินโด แต่สำหรับบ้านเราการลงทุนค่อนข้างชะงักชะงัน
เพราะผู้ลงทุนเห็นชัดเจนครับ ว่าประเทศไหนกำลังไปได้ดี ประเทศไหนต้องชะลอ หรือลดการลงทุน

ยอดในประเทศเป็นสิ่งสำคัญครับ เพราะถ้าพูดถึงการส่งออกอย่างเดียว จะไปผลิตที่ประเทศไหนก็ได้
จะย้ายไปที่ไหนก็ยังส่งออกไปที่เดิมได้ ถามว่าต้องง้อโรงงานในไทยมั้ย ถ้าหากยอดขายในประเทศไม่ดีเลย
ถ้าบริษัทแม่มองว่า หากย้ายโรงงานไปที่อินโด (สมมติ) แล้วยังส่งออกไปที่ประเทศต่างๆ ที่เคยส่งได้เหมือนกัน
และยอดขายภายในประเทศหากย้ายโรงงานไปอินโดดีกว่า เขาก็มีสิทธิ์ย้ายโรงงานแน่นอนครับ

ต้องดูอีกเคสนึงด้วยเช่น Mitsubishi ที่มีโรงงานในบ้านเราใหญ่ที่สุดที่ตั้งอยู่นอกประเทศญี่ปุ่น (ถ้าผมอ่านข่าวไม่ผิดนะครับ)
และเป็นฐานส่งออกสำคัญมาก แบบนี้ไม่ว่ายังไงก็คงจะสู้ตายในบ้านเรา ถ้ายอดขายสู้คู่แข่งไม่ได้ก็ต้องสู้ให้ได้
ความแน่นอนว่าโรงงานจะไม่ปิดไม่ย้ายไปไหนก็สูง แต่ด้านการลงทุน ช่วงนี้อาจจะไม่มีอะไรเพิ่มสำหรับบ้านเรา
อย่างตัวใหม่ ลูกครึ่่ง mini MPV ผสม crossover ก็ต้องนำเข้ามาจากอินโด ช่วงนี้มีแต่เงินไหลไปอินโด ค่ายที่จะลงทุน
เพิ่มในบ้านเราก็จะเป็นค่ายที่มั่นอกมั่นใจฐานลูกค้าในประเทศมากอย่าง Toyota, Honda และ เจ้ารองๆ อื่นๆ ที่รู้สึกว่า
ลูกค้าคนไทยถูกโฉลกกับรถของเขาๆ ก็จะเพิ่มการลงทุนเรื่อยๆ เช่น Mazda, Subaru

แต่บ้านเราค่อนข้างปกป้องโรงงานรถยนต์ดีครับ คงไม่ค่อยมีใครอยากย้ายออก เว้นแต่ว่า
ที่สุดของที่สุดจริงๆ ตอนนี้ก็ต้องจับตาดู Chevrolet ครับ ถ้า SUV, Pick up ทำได้ไม่ถึงเป้าที่คิดว่า
ควรจะทำได้ ก็คงมีคิดย้ายบ้างล่ะ แต่ผมไม่แน่ใจว่าพวกนี้ต้องมีการขายต่อโรงงานหรือมีคนมา takeover อะไรรึเปล่านะครับ

ขอเสริมว่าของเราเป็น hyper protectionism ปกป้องหัวทิ่มหัวแตก ตลอดกาลและตลอดไป (infant industry argument!?) แต่ไม่เคยพัฒนา human capital เพื่อให้สามารถขยับขึ้นไปใน value chain ที่ดีกว่านี้ได้ มีเวลาให้ทำมาตลอด 40 กว่าปี แต่จะเอาง่าย เอาสบายอย่างเดียว

ที่แย่อีกอย่างคือการคลั่งไคล้ hyper protectionism เปิดช่องว่างให้ทั้งพวกเจ้าตลาด และค่ายรถอื่นๆเอาเปรียบ มัดมือชกผู้บริโภคอย่างสบายๆ  พูดจาแถลงข่าวแบบทื่อๆ ดูถูกผู้บริโภค

บ้านเราอวย monopoly ครับ ไม่ชอบ free market economy

ผมว่าแบบนี้ก็ดีนะ จริงๆ ผมอยากให้ป้องกันรถที่มาจาก อินโด มาเลย์ด้วยซ้ำ แต่ก็ถือว่าเราก็ส่งไปให้เขาแล้ว ก็ต้องได้รับตอบกลับมา

ส่วนอินเดีย ญี่ปุ่น จีน และอื่นๆ ป้องกันให้มากที่สุดคับ

ถูกมัดมือชกให้ใช้รถ คุณภาพ สเปค สมรรถนะด้อยกว่าโลกที่หนึ่ง ทั้งรถนำเข้าและรถประกอบเอง ผมไม่เรียกว่าดีครับ 

Hyper protectionism ดีต่อผู้บริโภคมาตลอดสี่สิบกว่าปีจริงหรือ??? อันนี้น่าคิดครับ  แต่ก็นะฝั่งผู้ผลิต ผู้ทำชิ้นส่วนยังไงก็อวยกีกกันการค้าหัวทิ่มอยู่แล้ว แม้ว่ากำลังจะตกขบวน full ev LOL

มีรถนำเข้า spec ดี แต่คนไม่มีงานทำ กับมีรถ spec ด้อยกว่า แต่สร้างงาน สร้างรายได้ ผมขอเลือกแบบที่ 2 ครับ

รถไม่ใช่ทุกสิ่งนะครับ คนเราต้องกินต้องใช้ ถ้ามันสร้างธุรกิจ สร้างงานให้คนหลายล้าน ผมยอมใช้แบบนี้ครับ

...นานาจิตตัง ผมก็คิดแบบนี้...คนเรามองไม่เหมือนกันนะครับ ::) ::) ::)

ออฟไลน์ Turin

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 3,047
ผมยังไม่คิดไกลขนาดนั้นครับ จริงๆ เราไม่ต้องมองออสเตรเลียแล้วรู้สึกกลัวเรื่องค่าแรงแพงจะทำให้บริษัทรถย้ายการผลิต
ผมว่ามันเป็นคนล่ะเรื่องกัน
รัฐบาลออสเตรเลียไม่ได้ปกป้องโรงงานผลิตในประเทศ แต่ยอมให้รถนำเข้าเข้ามาขายได้ในราคาที่คนซื้อได้
ถ้ารัฐบาลปกป้องแบบบ้านเราก็จะอัดภาษีแพงๆ เข้าไป ซึ่งก็จะทำให้คนจำเป็นต้องซื้อรถที่ผลิตในประเทศ

ส่วนการผลิตสำหรับส่งออกนี่ก็เป็นอีกส่วนนึง ซึ่งต้องดูเรื่องการแข่งขันต้นทุนค่าแรงเป็นหลักเหมือน
กับที่ข้าวเราต้องไปแข่งกับข้าวของประเทศอื่นๆ แต่อยากให้มองมุมนี้ครับว่า เมื่อค่ายรถตั้งโรงงานผลิตแล้ว
หลักๆ คือการผลิตเพื่อป้อนในประเทศ เพราะมันเสี่ยงน้อยกว่าการป้อนให้ต่างประเทศเป็นหลักเพราะการแกว่งของค่าเงิน
และภาวะเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนั้น ถ้ายอดขายในประเทศดี มั่นคง รัฐบาลไม่ปล่อยให้รถ CBU นำเข้าเข้ามาทำลายตลาด
อันนี้โรงงานในประเทศอยู่ได้แน่นอน เพราะทุกแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับเดียวกัน ถ้าประเทศนั้นๆ ปกติ demand ไม่เยอะ
เพราะคนน้อย แต่ละแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับที่อยู่ได้เหมือนๆ กัน

เพราะฉะนั้นประเทศที่เจริญแล้วค่าแรงแพงหูฉี่ ยังไงๆ ก็ยังมีโรงงานผลิตรถครับ ถ้ามีตลาดในประเทศที่โอเค
ก็ไปต่อได้ อย่าพูดว่า ใช้ยอดส่งออกในการเลี้ยงบริษัทเป็นหลัก แต่ยอดในประเทศน้อยก็ไม่เป็นไร เพราะความเสี่ยง
ทางด้านค่าเงินก็สูงกว่ามาก กำไรในประเทศของโรงงานเป็นสิ่งที่มั่นคงและแน่นอนกว่า แต่ถ้าในประเทศขายไม่ได้นี่
มีความเสี่ยงสูงที่จะต้องปิดโรงงานครับ

ส่วนการลงทุนใหม่ อันนี้ก็เป็นอีกเรื่อง เป็นคนล่ะเรื่องกับการย้ายโรงงานหรือการปิดโรงงาน
จะเห็นได้ว่าตอนนี้เงินลงทุนมีแต่ไปทางอินโด แต่สำหรับบ้านเราการลงทุนค่อนข้างชะงักชะงัน
เพราะผู้ลงทุนเห็นชัดเจนครับ ว่าประเทศไหนกำลังไปได้ดี ประเทศไหนต้องชะลอ หรือลดการลงทุน

ยอดในประเทศเป็นสิ่งสำคัญครับ เพราะถ้าพูดถึงการส่งออกอย่างเดียว จะไปผลิตที่ประเทศไหนก็ได้
จะย้ายไปที่ไหนก็ยังส่งออกไปที่เดิมได้ ถามว่าต้องง้อโรงงานในไทยมั้ย ถ้าหากยอดขายในประเทศไม่ดีเลย
ถ้าบริษัทแม่มองว่า หากย้ายโรงงานไปที่อินโด (สมมติ) แล้วยังส่งออกไปที่ประเทศต่างๆ ที่เคยส่งได้เหมือนกัน
และยอดขายภายในประเทศหากย้ายโรงงานไปอินโดดีกว่า เขาก็มีสิทธิ์ย้ายโรงงานแน่นอนครับ

ต้องดูอีกเคสนึงด้วยเช่น Mitsubishi ที่มีโรงงานในบ้านเราใหญ่ที่สุดที่ตั้งอยู่นอกประเทศญี่ปุ่น (ถ้าผมอ่านข่าวไม่ผิดนะครับ)
และเป็นฐานส่งออกสำคัญมาก แบบนี้ไม่ว่ายังไงก็คงจะสู้ตายในบ้านเรา ถ้ายอดขายสู้คู่แข่งไม่ได้ก็ต้องสู้ให้ได้
ความแน่นอนว่าโรงงานจะไม่ปิดไม่ย้ายไปไหนก็สูง แต่ด้านการลงทุน ช่วงนี้อาจจะไม่มีอะไรเพิ่มสำหรับบ้านเรา
อย่างตัวใหม่ ลูกครึ่่ง mini MPV ผสม crossover ก็ต้องนำเข้ามาจากอินโด ช่วงนี้มีแต่เงินไหลไปอินโด ค่ายที่จะลงทุน
เพิ่มในบ้านเราก็จะเป็นค่ายที่มั่นอกมั่นใจฐานลูกค้าในประเทศมากอย่าง Toyota, Honda และ เจ้ารองๆ อื่นๆ ที่รู้สึกว่า
ลูกค้าคนไทยถูกโฉลกกับรถของเขาๆ ก็จะเพิ่มการลงทุนเรื่อยๆ เช่น Mazda, Subaru

แต่บ้านเราค่อนข้างปกป้องโรงงานรถยนต์ดีครับ คงไม่ค่อยมีใครอยากย้ายออก เว้นแต่ว่า
ที่สุดของที่สุดจริงๆ ตอนนี้ก็ต้องจับตาดู Chevrolet ครับ ถ้า SUV, Pick up ทำได้ไม่ถึงเป้าที่คิดว่า
ควรจะทำได้ ก็คงมีคิดย้ายบ้างล่ะ แต่ผมไม่แน่ใจว่าพวกนี้ต้องมีการขายต่อโรงงานหรือมีคนมา takeover อะไรรึเปล่านะครับ

ขอเสริมว่าของเราเป็น hyper protectionism ปกป้องหัวทิ่มหัวแตก ตลอดกาลและตลอดไป (infant industry argument!?) แต่ไม่เคยพัฒนา human capital เพื่อให้สามารถขยับขึ้นไปใน value chain ที่ดีกว่านี้ได้ มีเวลาให้ทำมาตลอด 40 กว่าปี แต่จะเอาง่าย เอาสบายอย่างเดียว

ที่แย่อีกอย่างคือการคลั่งไคล้ hyper protectionism เปิดช่องว่างให้ทั้งพวกเจ้าตลาด และค่ายรถอื่นๆเอาเปรียบ มัดมือชกผู้บริโภคอย่างสบายๆ  พูดจาแถลงข่าวแบบทื่อๆ ดูถูกผู้บริโภค

บ้านเราอวย monopoly ครับ ไม่ชอบ free market economy
เคยอ่านเจอ

Monopoly + Discretion - Accountability = Corruption

ออฟไลน์ Dark Overlord

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,804
  • Hail to the darkside
ผมยังไม่คิดไกลขนาดนั้นครับ จริงๆ เราไม่ต้องมองออสเตรเลียแล้วรู้สึกกลัวเรื่องค่าแรงแพงจะทำให้บริษัทรถย้ายการผลิต
ผมว่ามันเป็นคนล่ะเรื่องกัน
รัฐบาลออสเตรเลียไม่ได้ปกป้องโรงงานผลิตในประเทศ แต่ยอมให้รถนำเข้าเข้ามาขายได้ในราคาที่คนซื้อได้
ถ้ารัฐบาลปกป้องแบบบ้านเราก็จะอัดภาษีแพงๆ เข้าไป ซึ่งก็จะทำให้คนจำเป็นต้องซื้อรถที่ผลิตในประเทศ

ส่วนการผลิตสำหรับส่งออกนี่ก็เป็นอีกส่วนนึง ซึ่งต้องดูเรื่องการแข่งขันต้นทุนค่าแรงเป็นหลักเหมือน
กับที่ข้าวเราต้องไปแข่งกับข้าวของประเทศอื่นๆ แต่อยากให้มองมุมนี้ครับว่า เมื่อค่ายรถตั้งโรงงานผลิตแล้ว
หลักๆ คือการผลิตเพื่อป้อนในประเทศ เพราะมันเสี่ยงน้อยกว่าการป้อนให้ต่างประเทศเป็นหลักเพราะการแกว่งของค่าเงิน
และภาวะเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนั้น ถ้ายอดขายในประเทศดี มั่นคง รัฐบาลไม่ปล่อยให้รถ CBU นำเข้าเข้ามาทำลายตลาด
อันนี้โรงงานในประเทศอยู่ได้แน่นอน เพราะทุกแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับเดียวกัน ถ้าประเทศนั้นๆ ปกติ demand ไม่เยอะ
เพราะคนน้อย แต่ละแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับที่อยู่ได้เหมือนๆ กัน

เพราะฉะนั้นประเทศที่เจริญแล้วค่าแรงแพงหูฉี่ ยังไงๆ ก็ยังมีโรงงานผลิตรถครับ ถ้ามีตลาดในประเทศที่โอเค
ก็ไปต่อได้ อย่าพูดว่า ใช้ยอดส่งออกในการเลี้ยงบริษัทเป็นหลัก แต่ยอดในประเทศน้อยก็ไม่เป็นไร เพราะความเสี่ยง
ทางด้านค่าเงินก็สูงกว่ามาก กำไรในประเทศของโรงงานเป็นสิ่งที่มั่นคงและแน่นอนกว่า แต่ถ้าในประเทศขายไม่ได้นี่
มีความเสี่ยงสูงที่จะต้องปิดโรงงานครับ

ส่วนการลงทุนใหม่ อันนี้ก็เป็นอีกเรื่อง เป็นคนล่ะเรื่องกับการย้ายโรงงานหรือการปิดโรงงาน
จะเห็นได้ว่าตอนนี้เงินลงทุนมีแต่ไปทางอินโด แต่สำหรับบ้านเราการลงทุนค่อนข้างชะงักชะงัน
เพราะผู้ลงทุนเห็นชัดเจนครับ ว่าประเทศไหนกำลังไปได้ดี ประเทศไหนต้องชะลอ หรือลดการลงทุน

ยอดในประเทศเป็นสิ่งสำคัญครับ เพราะถ้าพูดถึงการส่งออกอย่างเดียว จะไปผลิตที่ประเทศไหนก็ได้
จะย้ายไปที่ไหนก็ยังส่งออกไปที่เดิมได้ ถามว่าต้องง้อโรงงานในไทยมั้ย ถ้าหากยอดขายในประเทศไม่ดีเลย
ถ้าบริษัทแม่มองว่า หากย้ายโรงงานไปที่อินโด (สมมติ) แล้วยังส่งออกไปที่ประเทศต่างๆ ที่เคยส่งได้เหมือนกัน
และยอดขายภายในประเทศหากย้ายโรงงานไปอินโดดีกว่า เขาก็มีสิทธิ์ย้ายโรงงานแน่นอนครับ

ต้องดูอีกเคสนึงด้วยเช่น Mitsubishi ที่มีโรงงานในบ้านเราใหญ่ที่สุดที่ตั้งอยู่นอกประเทศญี่ปุ่น (ถ้าผมอ่านข่าวไม่ผิดนะครับ)
และเป็นฐานส่งออกสำคัญมาก แบบนี้ไม่ว่ายังไงก็คงจะสู้ตายในบ้านเรา ถ้ายอดขายสู้คู่แข่งไม่ได้ก็ต้องสู้ให้ได้
ความแน่นอนว่าโรงงานจะไม่ปิดไม่ย้ายไปไหนก็สูง แต่ด้านการลงทุน ช่วงนี้อาจจะไม่มีอะไรเพิ่มสำหรับบ้านเรา
อย่างตัวใหม่ ลูกครึ่่ง mini MPV ผสม crossover ก็ต้องนำเข้ามาจากอินโด ช่วงนี้มีแต่เงินไหลไปอินโด ค่ายที่จะลงทุน
เพิ่มในบ้านเราก็จะเป็นค่ายที่มั่นอกมั่นใจฐานลูกค้าในประเทศมากอย่าง Toyota, Honda และ เจ้ารองๆ อื่นๆ ที่รู้สึกว่า
ลูกค้าคนไทยถูกโฉลกกับรถของเขาๆ ก็จะเพิ่มการลงทุนเรื่อยๆ เช่น Mazda, Subaru

แต่บ้านเราค่อนข้างปกป้องโรงงานรถยนต์ดีครับ คงไม่ค่อยมีใครอยากย้ายออก เว้นแต่ว่า
ที่สุดของที่สุดจริงๆ ตอนนี้ก็ต้องจับตาดู Chevrolet ครับ ถ้า SUV, Pick up ทำได้ไม่ถึงเป้าที่คิดว่า
ควรจะทำได้ ก็คงมีคิดย้ายบ้างล่ะ แต่ผมไม่แน่ใจว่าพวกนี้ต้องมีการขายต่อโรงงานหรือมีคนมา takeover อะไรรึเปล่านะครับ

ขอเสริมว่าของเราเป็น hyper protectionism ปกป้องหัวทิ่มหัวแตก ตลอดกาลและตลอดไป (infant industry argument!?) แต่ไม่เคยพัฒนา human capital เพื่อให้สามารถขยับขึ้นไปใน value chain ที่ดีกว่านี้ได้ มีเวลาให้ทำมาตลอด 40 กว่าปี แต่จะเอาง่าย เอาสบายอย่างเดียว

ที่แย่อีกอย่างคือการคลั่งไคล้ hyper protectionism เปิดช่องว่างให้ทั้งพวกเจ้าตลาด และค่ายรถอื่นๆเอาเปรียบ มัดมือชกผู้บริโภคอย่างสบายๆ  พูดจาแถลงข่าวแบบทื่อๆ ดูถูกผู้บริโภค

บ้านเราอวย monopoly ครับ ไม่ชอบ free market economy

ผมว่าแบบนี้ก็ดีนะ จริงๆ ผมอยากให้ป้องกันรถที่มาจาก อินโด มาเลย์ด้วยซ้ำ แต่ก็ถือว่าเราก็ส่งไปให้เขาแล้ว ก็ต้องได้รับตอบกลับมา

ส่วนอินเดีย ญี่ปุ่น จีน และอื่นๆ ป้องกันให้มากที่สุดคับ

ถูกมัดมือชกให้ใช้รถ คุณภาพ สเปค สมรรถนะด้อยกว่าโลกที่หนึ่ง ทั้งรถนำเข้าและรถประกอบเอง ผมไม่เรียกว่าดีครับ 

Hyper protectionism ดีต่อผู้บริโภคมาตลอดสี่สิบกว่าปีจริงหรือ??? อันนี้น่าคิดครับ  แต่ก็นะฝั่งผู้ผลิต ผู้ทำชิ้นส่วนยังไงก็อวยกีกกันการค้าหัวทิ่มอยู่แล้ว แม้ว่ากำลังจะตกขบวน full ev LOL

มีรถนำเข้า spec ดี แต่คนไม่มีงานทำ กับมีรถ spec ด้อยกว่า แต่สร้างงาน สร้างรายได้ ผมขอเลือกแบบที่ 2 ครับ

รถไม่ใช่ทุกสิ่งนะครับ คนเราต้องกินต้องใช้ ถ้ามันสร้างธุรกิจ สร้างงานให้คนหลายล้าน ผมยอมใช้แบบนี้ครับ

...นานาจิตตัง ผมก็คิดแบบนี้...คนเรามองไม่เหมือนกันนะครับ ::) ::) ::)

ประเทศเรายังจน จะทำแบบปกป้องไปก็คงไม่มีใครว่าครับ
แต่ก็ต้องพยายามสร้างโอกาสให้แบรนด์ใหม่ๆ เข้ามาลงทุนเปิดโรงงานได้ด้วย
จะได้ไม่เป็นการสร้างบรรยากาศผูกขาด

ออฟไลน์ Symphonic

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2,704
งงเรื่อง Hyper protectionism คืออะไรครับ?
แล้วมันเกี่ยวอะไรกับการมัดมือชกให้ใช้รถ สเปก คุณภาพด้อยกว่าโลกที่หนึ่ง?

ผมเห็นว่าบ้านเราพวกรถ ตัวท็อป ๆ สเปกสูง ๆ ก็มีขาย บางรุ่นสเปกดีกว่าต่างประเทศเสียอีก
อย่างที่คุณ J!MMY เคยชี้ให้ดูในรีวิวว่า Camry Esport จากออสเตรเลีย สเปกและวัสดุดูแย่กว่า Camry สเปกบ้านเรา

จริง ๆ แล้วปัญหามันอยู่ที่ว่าคนบ้านเราส่วนใหญ่ซื้อรถสเปกไหนกันมากกว่า เพราะผู้ขายเขาเลือกเอาสเปกที่คนบ้านเราอยากซื้อ
มาขายให้อยู่แล้ว

อีกอย่างเท่าที่ผมเห็นรถที่วิ่งในญี่ปุ่น รถส่วนใหญ่อาจมีถุงลมหลายใบและมีระบบช่วยการทรงตัวแต่ได้เบาะผ้าและล้อเป็นกระทะเหล็ก
ฝาครอบพลาสติก
แล้วถามคนบ้านเราสิว่า จะเอารถสเปกนั้นหรือจะเอารถที่มีถุงลมน้อยใบแต่ได้เบาะหนัง ล้อแม็กซ์ 17-18 นิ้ว ไฟลูกแก้วซีน่อน
พร้อมชุดแต่งรอบคันจากโรงงานกันล่ะครับ


ออฟไลน์ e:smart Hybrid

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 3,705
ผมยังไม่คิดไกลขนาดนั้นครับ จริงๆ เราไม่ต้องมองออสเตรเลียแล้วรู้สึกกลัวเรื่องค่าแรงแพงจะทำให้บริษัทรถย้ายการผลิต
ผมว่ามันเป็นคนล่ะเรื่องกัน
รัฐบาลออสเตรเลียไม่ได้ปกป้องโรงงานผลิตในประเทศ แต่ยอมให้รถนำเข้าเข้ามาขายได้ในราคาที่คนซื้อได้
ถ้ารัฐบาลปกป้องแบบบ้านเราก็จะอัดภาษีแพงๆ เข้าไป ซึ่งก็จะทำให้คนจำเป็นต้องซื้อรถที่ผลิตในประเทศ

ส่วนการผลิตสำหรับส่งออกนี่ก็เป็นอีกส่วนนึง ซึ่งต้องดูเรื่องการแข่งขันต้นทุนค่าแรงเป็นหลักเหมือน
กับที่ข้าวเราต้องไปแข่งกับข้าวของประเทศอื่นๆ แต่อยากให้มองมุมนี้ครับว่า เมื่อค่ายรถตั้งโรงงานผลิตแล้ว
หลักๆ คือการผลิตเพื่อป้อนในประเทศ เพราะมันเสี่ยงน้อยกว่าการป้อนให้ต่างประเทศเป็นหลักเพราะการแกว่งของค่าเงิน
และภาวะเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนั้น ถ้ายอดขายในประเทศดี มั่นคง รัฐบาลไม่ปล่อยให้รถ CBU นำเข้าเข้ามาทำลายตลาด
อันนี้โรงงานในประเทศอยู่ได้แน่นอน เพราะทุกแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับเดียวกัน ถ้าประเทศนั้นๆ ปกติ demand ไม่เยอะ
เพราะคนน้อย แต่ละแบรนด์ก็จะตั้งราคามาในระดับที่อยู่ได้เหมือนๆ กัน

เพราะฉะนั้นประเทศที่เจริญแล้วค่าแรงแพงหูฉี่ ยังไงๆ ก็ยังมีโรงงานผลิตรถครับ ถ้ามีตลาดในประเทศที่โอเค
ก็ไปต่อได้ อย่าพูดว่า ใช้ยอดส่งออกในการเลี้ยงบริษัทเป็นหลัก แต่ยอดในประเทศน้อยก็ไม่เป็นไร เพราะความเสี่ยง
ทางด้านค่าเงินก็สูงกว่ามาก กำไรในประเทศของโรงงานเป็นสิ่งที่มั่นคงและแน่นอนกว่า แต่ถ้าในประเทศขายไม่ได้นี่
มีความเสี่ยงสูงที่จะต้องปิดโรงงานครับ

ส่วนการลงทุนใหม่ อันนี้ก็เป็นอีกเรื่อง เป็นคนล่ะเรื่องกับการย้ายโรงงานหรือการปิดโรงงาน
จะเห็นได้ว่าตอนนี้เงินลงทุนมีแต่ไปทางอินโด แต่สำหรับบ้านเราการลงทุนค่อนข้างชะงักชะงัน
เพราะผู้ลงทุนเห็นชัดเจนครับ ว่าประเทศไหนกำลังไปได้ดี ประเทศไหนต้องชะลอ หรือลดการลงทุน

ยอดในประเทศเป็นสิ่งสำคัญครับ เพราะถ้าพูดถึงการส่งออกอย่างเดียว จะไปผลิตที่ประเทศไหนก็ได้
จะย้ายไปที่ไหนก็ยังส่งออกไปที่เดิมได้ ถามว่าต้องง้อโรงงานในไทยมั้ย ถ้าหากยอดขายในประเทศไม่ดีเลย
ถ้าบริษัทแม่มองว่า หากย้ายโรงงานไปที่อินโด (สมมติ) แล้วยังส่งออกไปที่ประเทศต่างๆ ที่เคยส่งได้เหมือนกัน
และยอดขายภายในประเทศหากย้ายโรงงานไปอินโดดีกว่า เขาก็มีสิทธิ์ย้ายโรงงานแน่นอนครับ

ต้องดูอีกเคสนึงด้วยเช่น Mitsubishi ที่มีโรงงานในบ้านเราใหญ่ที่สุดที่ตั้งอยู่นอกประเทศญี่ปุ่น (ถ้าผมอ่านข่าวไม่ผิดนะครับ)
และเป็นฐานส่งออกสำคัญมาก แบบนี้ไม่ว่ายังไงก็คงจะสู้ตายในบ้านเรา ถ้ายอดขายสู้คู่แข่งไม่ได้ก็ต้องสู้ให้ได้
ความแน่นอนว่าโรงงานจะไม่ปิดไม่ย้ายไปไหนก็สูง แต่ด้านการลงทุน ช่วงนี้อาจจะไม่มีอะไรเพิ่มสำหรับบ้านเรา
อย่างตัวใหม่ ลูกครึ่่ง mini MPV ผสม crossover ก็ต้องนำเข้ามาจากอินโด ช่วงนี้มีแต่เงินไหลไปอินโด ค่ายที่จะลงทุน
เพิ่มในบ้านเราก็จะเป็นค่ายที่มั่นอกมั่นใจฐานลูกค้าในประเทศมากอย่าง Toyota, Honda และ เจ้ารองๆ อื่นๆ ที่รู้สึกว่า
ลูกค้าคนไทยถูกโฉลกกับรถของเขาๆ ก็จะเพิ่มการลงทุนเรื่อยๆ เช่น Mazda, Subaru

แต่บ้านเราค่อนข้างปกป้องโรงงานรถยนต์ดีครับ คงไม่ค่อยมีใครอยากย้ายออก เว้นแต่ว่า
ที่สุดของที่สุดจริงๆ ตอนนี้ก็ต้องจับตาดู Chevrolet ครับ ถ้า SUV, Pick up ทำได้ไม่ถึงเป้าที่คิดว่า
ควรจะทำได้ ก็คงมีคิดย้ายบ้างล่ะ แต่ผมไม่แน่ใจว่าพวกนี้ต้องมีการขายต่อโรงงานหรือมีคนมา takeover อะไรรึเปล่านะครับ

ขอเสริมว่าของเราเป็น hyper protectionism ปกป้องหัวทิ่มหัวแตก ตลอดกาลและตลอดไป (infant industry argument!?) แต่ไม่เคยพัฒนา human capital เพื่อให้สามารถขยับขึ้นไปใน value chain ที่ดีกว่านี้ได้ มีเวลาให้ทำมาตลอด 40 กว่าปี แต่จะเอาง่าย เอาสบายอย่างเดียว

ที่แย่อีกอย่างคือการคลั่งไคล้ hyper protectionism เปิดช่องว่างให้ทั้งพวกเจ้าตลาด และค่ายรถอื่นๆเอาเปรียบ มัดมือชกผู้บริโภคอย่างสบายๆ  พูดจาแถลงข่าวแบบทื่อๆ ดูถูกผู้บริโภค

บ้านเราอวย monopoly ครับ ไม่ชอบ free market economy

ผมว่าแบบนี้ก็ดีนะ จริงๆ ผมอยากให้ป้องกันรถที่มาจาก อินโด มาเลย์ด้วยซ้ำ แต่ก็ถือว่าเราก็ส่งไปให้เขาแล้ว ก็ต้องได้รับตอบกลับมา

ส่วนอินเดีย ญี่ปุ่น จีน และอื่นๆ ป้องกันให้มากที่สุดคับ

ถูกมัดมือชกให้ใช้รถ คุณภาพ สเปค สมรรถนะด้อยกว่าโลกที่หนึ่ง ทั้งรถนำเข้าและรถประกอบเอง ผมไม่เรียกว่าดีครับ 

Hyper protectionism ดีต่อผู้บริโภคมาตลอดสี่สิบกว่าปีจริงหรือ??? อันนี้น่าคิดครับ  แต่ก็นะฝั่งผู้ผลิต ผู้ทำชิ้นส่วนยังไงก็อวยกีกกันการค้าหัวทิ่มอยู่แล้ว แม้ว่ากำลังจะตกขบวน full ev LOL

มีรถนำเข้า spec ดี แต่คนไม่มีงานทำ กับมีรถ spec ด้อยกว่า แต่สร้างงาน สร้างรายได้ ผมขอเลือกแบบที่ 2 ครับ

รถไม่ใช่ทุกสิ่งนะครับ คนเราต้องกินต้องใช้ ถ้ามันสร้างธุรกิจ สร้างงานให้คนหลายล้าน ผมยอมใช้แบบนี้ครับ

...นานาจิตตัง ผมก็คิดแบบนี้...คนเรามองไม่เหมือนกันนะครับ ::) ::) ::)

ประเทศเรายังจน จะทำแบบปกป้องไปก็คงไม่มีใครว่าครับ
แต่ก็ต้องพยายามสร้างโอกาสให้แบรนด์ใหม่ๆ เข้ามาลงทุนเปิดโรงงานได้ด้วย
จะได้ไม่เป็นการสร้างบรรยากาศผูกขาด

ครับ อันนี้จริงเลย

ผมสนับสนุน suzuki mazda mitsubishi ครับ

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,423
    • อีเมล์
ประเทศเรายังจน จะทำแบบปกป้องไปก็คงไม่มีใครว่าครับ
แต่ก็ต้องพยายามสร้างโอกาสให้แบรนด์ใหม่ๆ เข้ามาลงทุนเปิดโรงงานได้ด้วย
จะได้ไม่เป็นการสร้างบรรยากาศผูกขาด

ครับ อันนี้จริงเลย
ผมสนับสนุน suzuki mazda mitsubishi ครับ
[/quote]

ผมว่า ตอนนี้ เรื่อง ผลิตรถในประเทศ เค้าก็เสรีนะครับ
ก็ เน้น สนับสนุนการลงทุน ในประเทศ กีดกัน รถนำเข้านั้นละ

เพียงแค่ ต่อให้ผลิตในประเทศ ภาษี ก็ยังสูง เกินค่าแรง และ รายได้
จนขายได้แต่ กะบะ ดูยอด  ISUZU ก็รู้

ส่วนเรื่อง OPtion กาก มันก็มีทั้ง กาก และ จัดเต็ม ไม่ได้มีแต่ กาก
ผมว่า มัน การค้าเสรีนะ ไม่ได้ แยกส่า ค่าย ยุ่น ค่าย เมกา ขอแค่ ทำตามกฏในประเทศ

เพียง แค่ ตัวไม่ กาก ก็ไม่เห็น มีใคร ซื้อ เพราะ กำลังซื้อไม่มี จากภาษี ที่ รัฐจัดเต็มมา

ออฟไลน์ SM.

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 27,407
ปัจจัยอื่นๆก็มีผลนะครับ การนำเข้า-ส่งออก นโยบายของรัฐ การส่งเสริมจากภาครัฐต่างๆ ความเสถียรภาพทางการเมือง เป็นต้น