ผู้เขียน หัวข้อ: มีความคิดเห็นอย่างไรกับ Akio Toyoda เรื่องผลเสียของรถ EV บ้าง  (อ่าน 11769 ครั้ง)

ออฟไลน์ Odd_yim

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 439
    • อีเมล์
คือ เห็นข่าวแล้วก็ไม่น่าเชื่อว่าจะเป็นความคิดเห็นของประธานโตโยต้านะครับ น่าจะเป็นการปกป้อง Supply Chain ของตนเองมากกว่า ญี่ปุ่นเองก็วิจัยเรื่อง Fuel Cell จนสามารถใช้งานในเชิงพาณิชย์ได้แล้ว โครงสร้างพื้นฐานก็แค่ทำ Smart Grid ก็สามารถทดแทนการสร้างโรงไฟฟ้าใหญ่ ๆ ได้แล้วครับ

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,423
    • อีเมล์
อ่าน ใจความ Toyota ดีๆ ครับ
เค้าพูดถึง EV 100 %  ในระยะ ใกล้นี้
พูดในแง่ ผลกระทบ

ผมถามหน่อย มีใคร เคยวิจัย ไหม ว่า
การกระโดด จากรถน้ำมัน มาเป็น EV 100%
ภาคไฟฟ้ารัฐ  ต้อง เพิ่มกำลังการผลิต เท่าไหร่ ปริมาณไฟที่ใช้เท่าไหร่

ขนาดอเมริกา เอง ก็ไม่เห็น จะ ตื่นเต้นอะไร ก็เป็น แค่ รถ แห่งอนาคต
แล้วถ้า ใครทำงานการไฟฟ้า จะรู้เลยครับ ว่า ยากกกก มากมีแต่พวก ไม่รู้อะไรนั่นละที่คิดว่า ง่าย
แล้วยิ่งคนไทย ใช่รถ แบบ รวยน้ำมันโครตๆ ขับมันทุกบ้าน ทุกหลัง
ใครบอกไม่รวย ไป ดูจำนวน การลงทุน อเมริกา สำรวจ ตั้ง โรงสูบน้ำมันดิบในทะเลออกไปตั้งเท่าไหร่ บอกไม่รวยได้ไง

ที่เอา ยุโรษมาอ้าง ยุโรษ ทั้งทวีป  ยอดขาย ต่อปี ก็แค่ 12-13 ล้านคัน
เจอไทยประเทศเดียว ขายได้ปีละ 1 ล้านคัน
คิดเป็น 8 % ของ ยุโรษทั้ง ทวีบ คิดเอาครับ คนไทย ใช้พลังงาน รวยน้ำมันกันขนาดไหน ใช้ รถเยอะแค่ไหน
มันไม่ได้เปลี่ยน กันง่ายๆ ขนาดนั้น เหอะๆ
ยิ่ง บ้านเรา สนับสนุน ดีเซล พ่นควันดำปี้ Co2 เกิน 200 แต่เสียภาษี นอยกว่า Eco car จะบ้าตาย
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 23, 2020, 00:11:36 โดย mamaman »

ออฟไลน์ BKK777

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 76
ผมขอพูดตรงๆเลยละกันนะครับ แฟนๆ Toyota จะอะไรกับ EV นักหนา ถ้าอยากใช้ Fuel Cell ก็บอกให้ประธานโตโยต้าผลิตเลยครับ แล้วก็ไปช่วยเค้าอุดหนุนถ้าพวกท่านว่าดี  แต่ผมบอกได้เลยว่ามันเป็นอนาคตที่มาไม่ถึง และไม่มีวันเกิดขึ้นจริง เพราะ Fuel Cell ก็เปรียบเสมือน Wi-Max  ความคุ้มค่าต่อการลงทุนมันต่ำ

ลองมองไปไกลๆและคิดดูว่าทำไมวันนี้ Tesla ถึงเป็นบริษัทรถมูลค่าสูงกว่าโตโยต้า  ในระยะเวลาหลายปีมานี้แบ็ตเตอรี่มือถือมีขนาดเล็กลงกว่าเดิมมาก ประจุไฟฟ้าได้มากขึ้นกว่าดิมหลายเท่า  ลองมองไปที่อนาคตแบ็ตฯของ BEV มีขนาดเท่ากับแบ็ตฯหน้ารถในปัจจุบัน แต่การชาร์จแต่ละครั้งสามารถวิ่งได้เป็นพันกิโล  ถ้าหากไม่เริ่มตอนนี้แล้วการพัฒนาจะเกิดขึ้นได้อย่างไร ก็เหมือนกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ต้องมีจุดเริ่มต้น แล้วจึงเกิดพัฒนาการตามมาอย่างในปัจจุบัน

ในอนาคต BEV อาจจะมีระบบอื่นเข้ามาช่วยเสริมระบบการทำงาน เช่น มีระบบการ Generate พลังงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สามารถวิ่งไปชาร์จไป โดยไม่จำเป็นต้องมีเครื่องยนต์มาปั่นไฟ ก็ยังสามารถปั่นไฟชาร์จกลับเข้าแบ็ตฯได้ตลอดเวลา ไม่เฉพาะตอนเบรคเหมือนในปัจจุบัน ซึ่งทำให้ความต้องการการชาร์จกระแสไฟบ้านลดน้อยลง

สิ่งต่างๆต้องมีจุดเริ่มต้นถึงจะมีพัฒนาการ ไม่เช่นนั้นแล้วคนขี่มาก็จะบอกว่าขี่มาก็เพียงพออยู่แล้วไม่จำเป็นต้องมีรถยนต์ ที่ซึ่งก่อให้เกิดมลพิษ ซึ่งถ้าเชื่อแบบนั้นคนยุคปัจจุบันคงไม่มีโอกาสได้ใช้รถ

ปล่อยโลกให้หมุนไปตามวิถีของมันเถิด พ่อcowboy ทั้งหลาย

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,423
    • อีเมล์
เนื้อ ข่าว มีแค่เนี้ย
ที่เหลือ พวกปั่นกระแส 5555


Toyota’s Chief Says Electric Vehicles Are Overhyped
Akio Toyoda says converting entirely to EVs could cost hundreds of billions of dollars and make cars unaffordable for average people

TOKYO— Toyota Motor Corp.’s leader criticized what he described as excessive hype over electric vehicles, saying advocates failed to consider the carbon emitted by generating electricity and the costs of an EV transition.

Toyota President Akio Toyoda said Japan would run out of electricity in the summer if all cars were running on electric power. The infrastructure needed to support a fleet consisting entirely of EVs would cost Japan between ¥14 trillion and ¥37 trillion, the equivalent of $135 billion to $358 billion, he said.

“When politicians are out there saying, ‘Let’s get rid of all cars using gasoline,’ do they understand this?” Mr. Toyoda said Thursday at a year-end news conference in his capacity as chairman of the Japan Automobile Manufacturers Association.

He said if Japan is too hasty in banning gasoline-powered cars, “the current business model of the car industry is going to collapse,” causing the loss of millions of jobs.

Advocates of EVs say they can be charged at night when electricity demand is low and, over time, can grow in tandem with other green technologies such as solar power.

ผมกลับ มองว่า Toyota ฉลาด ที่หัดมองผลกระทบ ไม่ใช่ แค่ ตามกระแส ไปวัน ๆ
 


ออฟไลน์ pim_cute

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 308
เป็นคนเหลี่ยมจัดจริงๆ นิสัยผู้บริหารก็แบบนี้ละครับ แกพูดไม่หมด

ต้นทางโรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดมีครับเยอะแยะ เพียงแต่ไม่เพียงพอเท่านั้นเอง ตอนนี้ต้นทุนโรงไฟฟ้าที่ถูกที่สุดคือนิวเคลียร์ มันก็ง่ายๆ แค่ตอนนี้ ev ต้นทุนมันสูงกว่า ภาครัฐจึงสนับสนุนให้เกิดโดยเร็ว เพราะมันเป็นพลังงานสะอาด นโยบายโลกไปทาง green energy ค่อนข้างแน่นอนอยู่แล้ว

ทีนี้ปัญหาตอนนี้ก็คือ การกักเก็บพลังงาน พวกโรงไฟฟ้า solar หรือ ลม และรวมถึงเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงาน ชาร์จไฟรถ ev ด้วย หากพัฒนาถึงจุดที่โรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดผลิตได้เพียงพอ และลบจุดด้อยของ ev ในเรื่องเวลาการชาร์จ เรื่องระยะทาง จะทำให้เกิดทางเลือกที่น่าสนใจเกิดขึ้น เนื่องจากรถ ev นั้นมี efficiency มากกว่ารถสันดาบมาก เพราะพลังงานที่รถสันดาบใช้นั้นไม่ถึงครึ่งที่สร้างได้ สิ่งที่สูญเสียไปจากกระบวนการนี้คือพลังงานความร้อน เว้นแต่จะมีการนำตรงนี้มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด แถม ev ยังสะอาดกว่าอีก

ทีนี้ขั้นต่อมาก็คงจะมาแข่งกันที่ต้นทุน รถ ev รถสันดาบ ใครจะคุ้มค่ากว่ากันผู้บริโภคก็จะเลือกบริโภค ดังนั้นเมื่อต้นทุนการผลิต ev ลดลงถึงจุดนึง ราคาน้ำมันจะต้องลดลงมาเพื่อให้รถสันดาบแข่งขันได้ และต้องปรับตัวหลายๆ อย่าง คล้ายๆ สินค้าทดแทนที่ ev มีแต้มต่อจากรัฐ และสะอาดกว่า เพราะหากว่าต้นทุนเท่ากันผู้บริโภคเลือก ev แน่นอน ผมยังมองว่ารัฐไม่สามารถจำกัดเสรีภาพได้ขนาดนั้น ถึงขนาดบังคับให้มี ev 100% และถ้าหากราคาน้ำมันถูกกว่ามากๆ ก็ยังคิดว่ายังมีคนเลือกใช้รถสันดาบอยู่แน่

ออฟไลน์ deertesla

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,245
อ่าน ใจความ Toyota ดีๆ ครับ
เค้าพูดถึง EV 100 %  ในระยะ ใกล้นี้
พูดในแง่ ผลกระทบ

ผมถามหน่อย มีใคร เคยวิจัย ไหม ว่า
การกระโดด จากรถน้ำมัน มาเป็น EV 100%
ภาคไฟฟ้ารัฐ  ต้อง เพิ่มกำลังการผลิต เท่าไหร่ ปริมาณไฟที่ใช้เท่าไหร่

ขนาดอเมริกา เอง ก็ไม่เห็น จะ ตื่นเต้นอะไร ก็เป็น แค่ รถ แห่งอนาคต
แล้วถ้า ใครทำงานการไฟฟ้า จะรู้เลยครับ ว่า ยากกกก มากมีแต่พวก ไม่รู้อะไรนั่นละที่คิดว่า ง่าย
แล้วยิ่งคนไทย ใช่รถ แบบ รวยน้ำมันโครตๆ ขับมันทุกบ้าน ทุกหลัง
ใครบอกไม่รวย ไป ดูจำนวน การลงทุน อเมริกา สำรวจ ตั้ง โรงสูบน้ำมันดิบในทะเลออกไปตั้งเท่าไหร่ บอกไม่รวยได้ไง

ที่เอา ยุโรษมาอ้าง ยุโรษ ทั้งทวีป  ยอดขาย ต่อปี ก็แค่ 12-13 ล้านคัน
เจอไทยประเทศเดียว ขายได้ปีละ 1 ล้านคัน
คิดเป็น 8 % ของ ยุโรษทั้ง ทวีบ คิดเอาครับ คนไทย ใช้พลังงาน รวยน้ำมันกันขนาดไหน ใช้ รถเยอะแค่ไหน
มันไม่ได้เปลี่ยน กันง่ายๆ ขนาดนั้น เหอะๆ
ยิ่ง บ้านเรา สนับสนุน ดีเซล พ่นควันดำปี้ Co2 เกิน 200 แต่เสียภาษี นอยกว่า Eco car จะบ้าตาย
เห็นพวกอวยรถไฟฟ้าล้วนว่าดีวิเศษไม่มีข้อเสียอะไร แต่ลืมนึกถึงแหล่งที่มาของการผลิตไฟฟ้าว่าสร้างมลพิษได้อย่างไรบ้าง แบตลิเที่ยมนั้นยังกำจัดหรือรีไซเคิลได้ยากกันเลยครับ รวมไปถึงมลพิษจากลิเที่ยมอีกต่างหาก ไม่นับไปถึงการผลิตไฟฟ้าให้พอเพียงต่อการใช้งานและค่าไฟตามบ้านจะสูงขึ้นขนาดไหนเมื่อความต้องการใช้ไฟเพิ่มขึ้นอย่างมากนะครับ  และตอนนี้อยากให้แก้เลยคือเรื่องเครื่องดีเซลตัวปล่อยมลพิษ  ที่ภาษีรถกระบะดีเซล 2.5 -3.0 ถูกมากๆ ถูกกว่าเก๋งเบนซินคันเล็ก1.0-1.5 ทั้งที่มันขับกร่างชวนให้ถูกกระทืบ ปล่อยควันดำให้ทุกวี่ทุกวัน แถมไม่ยอมจับมาลงโทษมาอย่างจริงจังสักที กับพวกเผาอ้อย เผาซังข้าว เผาขยะที่ก่อมลพิษเยอะเหมือนกัน  แต่ก็ก็ไม่จับมาลงโทษให้หนักๆสักที ไม่ว่าจะรัฐบาลยุคไหนก็ตามปัญหามันก็เป็นแบบนี้ไม่่แปลกที่มีปัญหาฝุ่นควันและโรคมะเร็งปอดสูงขึ้นทุกทีกับความเสรีเกินไป

ออฟไลน์ r0u0g0e0k

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 830
เห็นด้วยทุกอย่างครับ  มลพิษในกระบวนการผลิตไฟฟ้า ผลิตเเบตเตอรี่ ไมไ่ด้ต่ำอย่างที่คิด

ออฟไลน์ rvsmart

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 672
ควรบาลานซ์ให้เกิดการแข่งขันกันอย่างสมบูรณ์ทั้งราคา ประสิทธิภาพ การควบคุมการสร้างแหล่งพลังงาน สร้างการมาตรฐานกำจัดมลพิษและซากอุปกรณ์
สุดท้ายดีมานด์-ซัพพลายจะบอกเองว่าใครจะอยู่ใครจะไป

ออฟไลน์ +@ Krishna @+

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5,295
  • *_* รถที่ดี คือ รถที่ใช้แล้วมีความสุข ^_^
เห็นด้วยครับ ถึงตอนนี้นะครับ จริงๆแล้วรถ fuel cell จะเหมาะที่สุดแต่ก้ยังไม่รีบพัฒนาแบบเต็มที่ซักที

น้ำมันยังเหลืออีกเยอะครับ ส่วนตัวผมๆไม่แคร์จะรถอะไรก้ได้ครับ NA Turbo PHEV HV EV Fuel cell

ไงก้ได้ครับได้หมด ในlifetime ของผมมันคงไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงเร็วอะไรมากมาย ให้มันเป็นเรื่องของ

คนยุค ต่อๆไปอีก 100ปี+ ไปแล้วจะเป็นยังไงก้แล้วแต่ครับ ไปคิด ไปอยู่กันเอาเอง
+1

ออฟไลน์ KTN88

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,196
อ่าน ใจความ Toyota ดีๆ ครับ
เค้าพูดถึง EV 100 %  ในระยะ ใกล้นี้
พูดในแง่ ผลกระทบ

ผมถามหน่อย มีใคร เคยวิจัย ไหม ว่า
การกระโดด จากรถน้ำมัน มาเป็น EV 100%
ภาคไฟฟ้ารัฐ  ต้อง เพิ่มกำลังการผลิต เท่าไหร่ ปริมาณไฟที่ใช้เท่าไหร่

ขนาดอเมริกา เอง ก็ไม่เห็น จะ ตื่นเต้นอะไร ก็เป็น แค่ รถ แห่งอนาคต
แล้วถ้า ใครทำงานการไฟฟ้า จะรู้เลยครับ ว่า ยากกกก มากมีแต่พวก ไม่รู้อะไรนั่นละที่คิดว่า ง่าย
แล้วยิ่งคนไทย ใช่รถ แบบ รวยน้ำมันโครตๆ ขับมันทุกบ้าน ทุกหลัง
ใครบอกไม่รวย ไป ดูจำนวน การลงทุน อเมริกา สำรวจ ตั้ง โรงสูบน้ำมันดิบในทะเลออกไปตั้งเท่าไหร่ บอกไม่รวยได้ไง

ที่เอา ยุโรษมาอ้าง ยุโรษ ทั้งทวีป  ยอดขาย ต่อปี ก็แค่ 12-13 ล้านคัน
เจอไทยประเทศเดียว ขายได้ปีละ 1 ล้านคัน
คิดเป็น 8 % ของ ยุโรษทั้ง ทวีบ คิดเอาครับ คนไทย ใช้พลังงาน รวยน้ำมันกันขนาดไหน ใช้ รถเยอะแค่ไหน
มันไม่ได้เปลี่ยน กันง่ายๆ ขนาดนั้น เหอะๆ
ยิ่ง บ้านเรา สนับสนุน ดีเซล พ่นควันดำปี้ Co2 เกิน 200 แต่เสียภาษี นอยกว่า Eco car จะบ้าตาย
เห็นพวกอวยรถไฟฟ้าล้วนว่าดีวิเศษไม่มีข้อเสียอะไร แต่ลืมนึกถึงแหล่งที่มาของการผลิตไฟฟ้าว่าสร้างมลพิษได้อย่างไรบ้าง แบตลิเที่ยมนั้นยังกำจัดหรือรีไซเคิลได้ยากกันเลยครับ รวมไปถึงมลพิษจากลิเที่ยมอีกต่างหาก ไม่นับไปถึงการผลิตไฟฟ้าให้พอเพียงต่อการใช้งานและค่าไฟตามบ้านจะสูงขึ้นขนาดไหนเมื่อความต้องการใช้ไฟเพิ่มขึ้นอย่างมากนะครับ  และตอนนี้อยากให้แก้เลยคือเรื่องเครื่องดีเซลตัวปล่อยมลพิษ  ที่ภาษีรถกระบะดีเซล 2.5 -3.0 ถูกมากๆ ถูกกว่าเก๋งเบนซินคันเล็ก1.0-1.5 ทั้งที่มันขับกร่างชวนให้ถูกกระทืบ ปล่อยควันดำให้ทุกวี่ทุกวัน แถมไม่ยอมจับมาลงโทษมาอย่างจริงจังสักที กับพวกเผาอ้อย เผาซังข้าว เผาขยะที่ก่อมลพิษเยอะเหมือนกัน  แต่ก็ก็ไม่จับมาลงโทษให้หนักๆสักที ไม่ว่าจะรัฐบาลยุคไหนก็ตามปัญหามันก็เป็นแบบนี้ไม่่แปลกที่มีปัญหาฝุ่นควันและโรคมะเร็งปอดสูงขึ้นทุกทีกับความเสรีเกินไป

เห็นด้วยนะ พอไปถามพวกอวยรถไฟฟ้าว่ามีวิธีกำจัดแบตอย่างไรไม่ให้มีมลพิษนี่ไบ้กินกันทุกคน

ออฟไลน์ O_o"

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 12,384
อ่าน ใจความ Toyota ดีๆ ครับ
เค้าพูดถึง EV 100 %  ในระยะ ใกล้นี้
พูดในแง่ ผลกระทบ

ผมถามหน่อย มีใคร เคยวิจัย ไหม ว่า
การกระโดด จากรถน้ำมัน มาเป็น EV 100%
ภาคไฟฟ้ารัฐ  ต้อง เพิ่มกำลังการผลิต เท่าไหร่ ปริมาณไฟที่ใช้เท่าไหร่

ขนาดอเมริกา เอง ก็ไม่เห็น จะ ตื่นเต้นอะไร ก็เป็น แค่ รถ แห่งอนาคต
แล้วถ้า ใครทำงานการไฟฟ้า จะรู้เลยครับ ว่า ยากกกก มากมีแต่พวก ไม่รู้อะไรนั่นละที่คิดว่า ง่าย
แล้วยิ่งคนไทย ใช่รถ แบบ รวยน้ำมันโครตๆ ขับมันทุกบ้าน ทุกหลัง
ใครบอกไม่รวย ไป ดูจำนวน การลงทุน อเมริกา สำรวจ ตั้ง โรงสูบน้ำมันดิบในทะเลออกไปตั้งเท่าไหร่ บอกไม่รวยได้ไง

ที่เอา ยุโรษมาอ้าง ยุโรษ ทั้งทวีป  ยอดขาย ต่อปี ก็แค่ 12-13 ล้านคัน
เจอไทยประเทศเดียว ขายได้ปีละ 1 ล้านคัน
คิดเป็น 8 % ของ ยุโรษทั้ง ทวีบ คิดเอาครับ คนไทย ใช้พลังงาน รวยน้ำมันกันขนาดไหน ใช้ รถเยอะแค่ไหน
มันไม่ได้เปลี่ยน กันง่ายๆ ขนาดนั้น เหอะๆ
ยิ่ง บ้านเรา สนับสนุน ดีเซล พ่นควันดำปี้ Co2 เกิน 200 แต่เสียภาษี นอยกว่า Eco car จะบ้าตาย

เห็นด้วยครับ หลายคนมองแค่ข้อดีจากรถไฟฟ้า จนลืมข้อเสียหลายๆอย่าง

อีกข้อหนึ่งผมมองว่าใครจะซื้อรถไฟฟ้ามาใช้งาน ควรปรับปรุงระบบไฟฟ้าในบ้านด้วยครับ ยิ่งในประเทศไทยหลายบ้านละเลยเรื่องนี้กันเยอะ


ออฟไลน์ deertesla

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,245
อ่าน ใจความ Toyota ดีๆ ครับ
เค้าพูดถึง EV 100 %  ในระยะ ใกล้นี้
พูดในแง่ ผลกระทบ

ผมถามหน่อย มีใคร เคยวิจัย ไหม ว่า
การกระโดด จากรถน้ำมัน มาเป็น EV 100%
ภาคไฟฟ้ารัฐ  ต้อง เพิ่มกำลังการผลิต เท่าไหร่ ปริมาณไฟที่ใช้เท่าไหร่

ขนาดอเมริกา เอง ก็ไม่เห็น จะ ตื่นเต้นอะไร ก็เป็น แค่ รถ แห่งอนาคต
แล้วถ้า ใครทำงานการไฟฟ้า จะรู้เลยครับ ว่า ยากกกก มากมีแต่พวก ไม่รู้อะไรนั่นละที่คิดว่า ง่าย
แล้วยิ่งคนไทย ใช่รถ แบบ รวยน้ำมันโครตๆ ขับมันทุกบ้าน ทุกหลัง
ใครบอกไม่รวย ไป ดูจำนวน การลงทุน อเมริกา สำรวจ ตั้ง โรงสูบน้ำมันดิบในทะเลออกไปตั้งเท่าไหร่ บอกไม่รวยได้ไง

ที่เอา ยุโรษมาอ้าง ยุโรษ ทั้งทวีป  ยอดขาย ต่อปี ก็แค่ 12-13 ล้านคัน
เจอไทยประเทศเดียว ขายได้ปีละ 1 ล้านคัน
คิดเป็น 8 % ของ ยุโรษทั้ง ทวีบ คิดเอาครับ คนไทย ใช้พลังงาน รวยน้ำมันกันขนาดไหน ใช้ รถเยอะแค่ไหน
มันไม่ได้เปลี่ยน กันง่ายๆ ขนาดนั้น เหอะๆ
ยิ่ง บ้านเรา สนับสนุน ดีเซล พ่นควันดำปี้ Co2 เกิน 200 แต่เสียภาษี นอยกว่า Eco car จะบ้าตาย
เห็นพวกอวยรถไฟฟ้าล้วนว่าดีวิเศษไม่มีข้อเสียอะไร แต่ลืมนึกถึงแหล่งที่มาของการผลิตไฟฟ้าว่าสร้างมลพิษได้อย่างไรบ้าง แบตลิเที่ยมนั้นยังกำจัดหรือรีไซเคิลได้ยากกันเลยครับ รวมไปถึงมลพิษจากลิเที่ยมอีกต่างหาก ไม่นับไปถึงการผลิตไฟฟ้าให้พอเพียงต่อการใช้งานและค่าไฟตามบ้านจะสูงขึ้นขนาดไหนเมื่อความต้องการใช้ไฟเพิ่มขึ้นอย่างมากนะครับ  และตอนนี้อยากให้แก้เลยคือเรื่องเครื่องดีเซลตัวปล่อยมลพิษ  ที่ภาษีรถกระบะดีเซล 2.5 -3.0 ถูกมากๆ ถูกกว่าเก๋งเบนซินคันเล็ก1.0-1.5 ทั้งที่มันขับกร่างชวนให้ถูกกระทืบ ปล่อยควันดำให้ทุกวี่ทุกวัน แถมไม่ยอมจับมาลงโทษมาอย่างจริงจังสักที กับพวกเผาอ้อย เผาซังข้าว เผาขยะที่ก่อมลพิษเยอะเหมือนกัน  แต่ก็ก็ไม่จับมาลงโทษให้หนักๆสักที ไม่ว่าจะรัฐบาลยุคไหนก็ตามปัญหามันก็เป็นแบบนี้ไม่่แปลกที่มีปัญหาฝุ่นควันและโรคมะเร็งปอดสูงขึ้นทุกทีกับความเสรีเกินไป

เห็นด้วยนะ พอไปถามพวกอวยรถไฟฟ้าว่ามีวิธีกำจัดแบตอย่างไรไม่ให้มีมลพิษนี่ไบ้กินกันทุกคน
ผมเห็นพวกอวยพูดถึงแต่อัตราเร่ง กับไม่มีควัน แต่ไม่พูดถึงเรื่องใช้ไฟฟ้าที่โหดเพราะอัดแรงม้าแรงบิดโหดๆมีเพียงเกียร์แค่เกียร์เดียวแบบรถอเมริกันยุคโบราณที่เครื่องใหญ่แต่มีแค่2-3เกียร์ ซดน้ำมันบานตะไท ดังนั้นเวลาเดินทางจริงย่อมใช่นอบที่สูงอัตราการซดไฟย่อมเพิ่มขึ้นแน่นอน รวมไปถึงพูดถึงแต่กำจัดแบตแต่ไม่พูดถึงการที่จะรีไซเคิล รียูสเลย รวมไปถึงการหาแหล่งไฟฟ้าที่พอเพียงต่อการใช้งาน ที่บางคนพูดแต่อยากได้นิวเคลีย ซึ่งประเทศญี่ปุ่นได้เลิกใช้ไปจนเหลือแค่5โรงไฟฟ้าเท่่านั้นอันเนื่องจากปัญหาสารกัมมันตรังสีที่รั่วไหล รวมไปถึงกากกัมมันตรังสีที่กำจัดยังไม่ได้เลย ถ้ายังไม่พร้อมอะไร รถไฟฟ้ายังไม่ต้องมาก็ได้หรอกนะครับดูแล้วรถน้ำมันขายได้จนถึงอายุุขัยคนนึงๆแน่นอน  ถ้าไม่นับรวมแบตเตอรี่ ระบบขับเคลื่อนของรถไฟฟ้าน่าจะถูกกว่าระบบเครื่องยนต์ใช้น้ำมันมากพอสมควรครับเพราะชิ้นส่วนหายไปเยอะ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 23, 2020, 18:14:48 โดย deertesla »

ออฟไลน์ bongo

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 118
    • อีเมล์
ผมว่าเรามาดูกันก่อนดีกว่านะว่าปัจจุบันแบตเตอรี่ Lithium มีการพัฒนากันไปถึงไหน แนวโน้มการ reuse, recycle battery เป็นอย่างไรบ้าง

พูดถึงแบตเตอรี่ก่อนล่ะกัน แบตเตอรี่ Lithium ตอนนี้มีหลากหลายแบบมากกก ส่วนใหญ่ที่คนเรานึกถึงก็คือแบตเตอรี่มือถือ ซึ่งเป็นแบตเตอรี่ Lithium แบบ
Lithium Polymer (LiPo, LIP, Li-poly, lithium-poly) ซึ่งมี cycle life อยู่ประมาณ 300 cycle

*cycle life คือจำนวนรอบการชาร์จ ซึ่งจะชาร์จตั้งแต่ระดับ 0-100% แล้วก็ใช้งานจนหมด แล้วก็ชาร์จซ่ำ ทำแบบนี้วนไปเรื่อยๆ จนกระทั้งความจุแบตเตอรี่ลดลงเหลือ 80% เช่น แบตเตอรี่ LiPo มี cycle life อยู่ที่ 300 รอบ สมมุติว่าแบตลูกนี้มีความจุ 1 kWh เมื่อใช้งานจนครบ 300 cycle life แล้ว จะเหลือความจุที่ 0.8 kWh (และไม่ได้ถือว่าเสียหรือใช้งานต่อไม่ได้ ยังสามารถใช้ต่อได้แต่แค่จะต้องชาร์จมือถือบ่อยขึ้น)

ต่อมาแบตเตอรี่ที่ใช้ในรถยนต์ล่ะใช้แบบไหน ต่อนี้หลักๆเลยจะมี
NCA (Lithium nickel cobalt aluminum oxide battery) หลักๆที่ใช้คือ Tesla ซึ่งผู้ผลิตแบตเตอรี่คือ Panasonic (ช่วงปลายปี 2020 รถ Tesla Model3 ที่ประกอบจากโรงงานในจีนจะมีทั้ง NMC (จาก LG Chem) และ LFP (จาก CATL))
NMC (Lithium Nickel Manganese Cobalt Oxide battery) หลักๆที่ใช้คือรถที่รับ battery มาจากผู้ผลิตเกาหลีและจีน ซึ่ง NMC แบ่งเป็นหลายสูตรอีก เช่น
    NMC111, NMC523, NMC622, NMC811 โดยแต่ล่ะสูตรก็จะมีคุณสมบัติกันคนละแบบไปอีก เช่น
    NMC523 มี cycle life ประมาณ 1600 แต่เก็บประจุได้น้อยกว่า NMC811 แต่มีปลอดภัยกว่า (ถ้าจำไม่ผิด MG ZS EV กับ MG 5 EP จะใช้แบบนี้)
    NMC811 มี cycle life ประมาณ 1400 แต่เก็บประจุได้เยอะ แต่ไม่ค่อยปลอดภัย (ต้องมี BMS จัดการ battery ดีๆ มีรถบางรุ่นมีปัญหาจนต้องเปลี่ยนกลับไปใช้ NMC523 ก็มี)

LFP (Lithium Iron Phosphate battery, Lithium Ferro Phosphate(LiFePO4) battery) ผู้ผลิตส่วนใหญ่จะมาจากฝั่งจีน ข้อดีคือปลอดภัยกว่า NMC มาก แต่เก็บความจุได้น้อย มี cycle life มาก (4000 cycle) แต่เนื่องจากความจุน้อยช่วงหลังจึงมีการพัฒนามาเป็น LFMP (เพิ่ม Manganese เข้าไป)
 * ถ้าใครตามข่าวที่ว่าตอนนี้พัฒนาแบตเตอรี่ให้ใช้ได้ 1,000,000km ขึ้นไปได้แล้ว แบตเตอรี่ที่ว่าก็คือ LFMP กับ LNMO นี่แหละ


ที่นี้ลองมาคำนวณการใช้งานกัน
ยกตัวอย่างเป็น ORA Goodcat ละกัน พอดีรุ่นนี้ที่จีนมีแบตเตอรี่ให้เลือกสองแบบคือ 400km กับ 500km โดย 400 ใช้ LFP ส่วน 500 ใช้ NMC
400 km ตามมาตรฐาน NEDC จะเทียบเป็น WLTP ได้ที่ประมาณ 316km
500 km ตามมาตรฐาน NEDC จะเทียบเป็น WLTP ได้ที่ประมาณ 395km
ORA Goodcat 400 เมื่อมีการใช้งานครบ 4000 cycle จะมีระยะทางต่อการชาร์จตาม WLTP อยู่ที่ประมาณ 253km
เฉลี่ย 4000 cycle จะวิ่งไปแล้ว (316+253)/2 * 4000 = 1,138,000km
ORA Goodcat 500 เมื่อมีการใช้งานครบ 1600 cycle จะมีระยะทางต่อการชาร์จตาม WLTP อยู่ที่ประมาณ 316km
เฉลี่ย 1600 cycle จะวิ่งไปแล้ว (395+316)/2 * 1600 = 568,800km

ผมไม่แน่ใจว่าคนทั่วไปใช้รถกันเยอะขนาดไหนนะ แต่ส่วนตัวผมเองตีว่าปีนึงผมใช้รถประมาณ 20000km การจะใช้ให้ถึง 568,800km  คงใช้เวลาเกือบสามสิบปี
สมมุติว่ามีคนใช้งาน จนครบ 1600 cycle แล้วละ รถคันนี้จะใช้ไม่ได้เลยรึเปล่า ก็ไม่นะครับ ยังใช้ต่อได้เพียงแต่ระยะที่ได้ต่อการชาร์จหนึ่งครั้งมันน้อยลงก็เลยต้องชาร์จบ่อยขึ้นก็แค่นั้นเอง แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ แล้วอันเก่าที่ยังใช้ได้แต่มีประขจุน้อยลงจะเอาไปทำอะไรต่อดี

ขั้นตอนต่อมาของแบตเตอรี่เหล่านี้คือการ reuse มาทำ Energy storage ยกตัวอย่างเช่น Amsterdam's "Johan Cruyff Arena" multipurpose stadium ที่ได้มีการใน battery ของ Nissan Leaf รุ่นแรกมาทำเป็น Energy Storage 2.8MWh ... ใช้ Nissan Leaf กี่คันล่ะ รู้สึกว่ารุ่นแรกแบตเตอรี่ขนาด 24kWh ช่วงที่เอามาใช้คงมีความจุเหลืออยู่ที่ 20kWh แสดงว่าอย่างน้อยก็ต้องใช้  140 คันแหละ (ที่เอามาทำ Energy Storage ผู้ติดตั้งเค้ารับประกันแบตเตอรี่ 10 ปีด้วยนะ)


https://www.eaton.com/gb/en-gb/products/energy-storage/johan-cruijff-arena-success-story.html

ส่วนแบตเตอรี่ที่เสียนะเหรอ ส่งไป recycle ซิครับ ใน ASIAN เราก็ส่งไปสิงคโปร์ซิ เค้ามีโรงงาน recycle แบต Lithium อยู่นะ
https://www.tes-amm.com/battery-recycling

พวกข้อมูล paper กระบวนการ recycle battery lithium ของปี 2019 ลองไปอ่านอันนี้ดูละกัน
https://www.cell.com/heliyon/pdf/S2405-8440(19)34701-2.pdf

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,423
    • อีเมล์

แบตเตอรี่ไม่น่าห่วงครับบ
ห่วง ว่า ตอน รถทุกคัน จอดชาร์ทตอนลกลางคืนพร้อมกัน
ยอดรถยนต์ จดทะเบียน ใช้งาน ตอนนี้ 20 ล้านคัน รวมทุกประเภท
ตี สมุติ ใช้จริง 10 ล้านคัน จอดชาร์ท พร้อมกัน

จะขายจะดัน EV เคยถามการไฟฟ้า ไหม ไหวรึเปล่า ไม่ใช่ทำแค่แท่นชาร์ท ถามคนผลิตไฟด้วย พร้อมรึยัง กับ EV 100 %

ออฟไลน์ bongo

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 118
    • อีเมล์

แบตเตอรี่ไม่น่าห่วงครับบ
ห่วง ว่า ตอน รถทุกคัน จอดชาร์ทตอนลกลางคืนพร้อมกัน
ยอดรถยนต์ จดทะเบียน ใช้งาน ตอนนี้ 20 ล้านคัน รวมทุกประเภท
ตี สมุติ ใช้จริง 10 ล้านคัน จอดชาร์ท พร้อมกัน

จะขายจะดัน EV เคยถามการไฟฟ้า ไหม ไหวรึเปล่า ไม่ใช่ทำแค่แท่นชาร์ท ถามคนผลิตไฟด้วย พร้อมรึยัง กับ EV 100 %

จริงๆอยากให้ทาง headlightmag ทำจดหมายถึงการไฟฟ้าฝ่ายผลิต, การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เพื่อขอสัมภาษณ์เกี่ยวกับผลกระทบการใช้งานรถ EV ทุกคนจะได้รู้กันไปเลยว่าพวกเค้ามีความคิดยังไง มีแผนรองรับยังไงบ้าง
ซึ่งผมบอกเลยว่ามันจะพัฒนาแบบค่อยเป็นค่อยไป และรถ EV มันไม่ได้มาแบบที่เดียวถล่มถลายจนรถ ICE หายไป มันไม่มีทางเป็นแบบนั้น

ซึ่งตอนนี้มีนโยบายจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคออกมาแล้วว่าบ้านหนึ่งหลังสามารถขอมิเตอร์เพิ่มอีกหนึ่งอันสำหรับนำมาใช้ในการชาร์จรถไฟฟ้าโดยเฉพาะได้
https://www.facebook.com/Provincial.Electricity.Authority/photos/a.220381807991300/4226417164054391/

nomad

  • บุคคลทั่วไป
นั่นสิครับ ทุกวันนี้ไทยยังนำเข้าไฟฟ้าจากเพื่อนบ้านอยู่เลย

ออฟไลน์ delete

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2,963
    • อีเมล์
ผมว่าเรามาดูกันก่อนดีกว่านะว่าปัจจุบันแบตเตอรี่ Lithium มีการพัฒนากันไปถึงไหน แนวโน้มการ reuse, recycle battery เป็นอย่างไรบ้าง

พูดถึงแบตเตอรี่ก่อนล่ะกัน แบตเตอรี่ Lithium ตอนนี้มีหลากหลายแบบมากกก ส่วนใหญ่ที่คนเรานึกถึงก็คือแบตเตอรี่มือถือ ซึ่งเป็นแบตเตอรี่ Lithium แบบ
Lithium Polymer (LiPo, LIP, Li-poly, lithium-poly) ซึ่งมี cycle life อยู่ประมาณ 300 cycle

*cycle life คือจำนวนรอบการชาร์จ ซึ่งจะชาร์จตั้งแต่ระดับ 0-100% แล้วก็ใช้งานจนหมด แล้วก็ชาร์จซ่ำ ทำแบบนี้วนไปเรื่อยๆ จนกระทั้งความจุแบตเตอรี่ลดลงเหลือ 80% เช่น แบตเตอรี่ LiPo มี cycle life อยู่ที่ 300 รอบ สมมุติว่าแบตลูกนี้มีความจุ 1 kWh เมื่อใช้งานจนครบ 300 cycle life แล้ว จะเหลือความจุที่ 0.8 kWh (และไม่ได้ถือว่าเสียหรือใช้งานต่อไม่ได้ ยังสามารถใช้ต่อได้แต่แค่จะต้องชาร์จมือถือบ่อยขึ้น)

ต่อมาแบตเตอรี่ที่ใช้ในรถยนต์ล่ะใช้แบบไหน ต่อนี้หลักๆเลยจะมี
NCA (Lithium nickel cobalt aluminum oxide battery) หลักๆที่ใช้คือ Tesla ซึ่งผู้ผลิตแบตเตอรี่คือ Panasonic (ช่วงปลายปี 2020 รถ Tesla Model3 ที่ประกอบจากโรงงานในจีนจะมีทั้ง NMC (จาก LG Chem) และ LFP (จาก CATL))
NMC (Lithium Nickel Manganese Cobalt Oxide battery) หลักๆที่ใช้คือรถที่รับ battery มาจากผู้ผลิตเกาหลีและจีน ซึ่ง NMC แบ่งเป็นหลายสูตรอีก เช่น
    NMC111, NMC523, NMC622, NMC811 โดยแต่ล่ะสูตรก็จะมีคุณสมบัติกันคนละแบบไปอีก เช่น
    NMC523 มี cycle life ประมาณ 1600 แต่เก็บประจุได้น้อยกว่า NMC811 แต่มีปลอดภัยกว่า (ถ้าจำไม่ผิด MG ZS EV กับ MG 5 EP จะใช้แบบนี้)
    NMC811 มี cycle life ประมาณ 1400 แต่เก็บประจุได้เยอะ แต่ไม่ค่อยปลอดภัย (ต้องมี BMS จัดการ battery ดีๆ มีรถบางรุ่นมีปัญหาจนต้องเปลี่ยนกลับไปใช้ NMC523 ก็มี)

LFP (Lithium Iron Phosphate battery, Lithium Ferro Phosphate(LiFePO4) battery) ผู้ผลิตส่วนใหญ่จะมาจากฝั่งจีน ข้อดีคือปลอดภัยกว่า NMC มาก แต่เก็บความจุได้น้อย มี cycle life มาก (4000 cycle) แต่เนื่องจากความจุน้อยช่วงหลังจึงมีการพัฒนามาเป็น LFMP (เพิ่ม Manganese เข้าไป)
 * ถ้าใครตามข่าวที่ว่าตอนนี้พัฒนาแบตเตอรี่ให้ใช้ได้ 1,000,000km ขึ้นไปได้แล้ว แบตเตอรี่ที่ว่าก็คือ LFMP กับ LNMO นี่แหละ


ที่นี้ลองมาคำนวณการใช้งานกัน
ยกตัวอย่างเป็น ORA Goodcat ละกัน พอดีรุ่นนี้ที่จีนมีแบตเตอรี่ให้เลือกสองแบบคือ 400km กับ 500km โดย 400 ใช้ LFP ส่วน 500 ใช้ NMC
400 km ตามมาตรฐาน NEDC จะเทียบเป็น WLTP ได้ที่ประมาณ 316km
500 km ตามมาตรฐาน NEDC จะเทียบเป็น WLTP ได้ที่ประมาณ 395km
ORA Goodcat 400 เมื่อมีการใช้งานครบ 4000 cycle จะมีระยะทางต่อการชาร์จตาม WLTP อยู่ที่ประมาณ 253km
เฉลี่ย 4000 cycle จะวิ่งไปแล้ว (316+253)/2 * 4000 = 1,138,000km
ORA Goodcat 500 เมื่อมีการใช้งานครบ 1600 cycle จะมีระยะทางต่อการชาร์จตาม WLTP อยู่ที่ประมาณ 316km
เฉลี่ย 1600 cycle จะวิ่งไปแล้ว (395+316)/2 * 1600 = 568,800km

ผมไม่แน่ใจว่าคนทั่วไปใช้รถกันเยอะขนาดไหนนะ แต่ส่วนตัวผมเองตีว่าปีนึงผมใช้รถประมาณ 20000km การจะใช้ให้ถึง 568,800km  คงใช้เวลาเกือบสามสิบปี
สมมุติว่ามีคนใช้งาน จนครบ 1600 cycle แล้วละ รถคันนี้จะใช้ไม่ได้เลยรึเปล่า ก็ไม่นะครับ ยังใช้ต่อได้เพียงแต่ระยะที่ได้ต่อการชาร์จหนึ่งครั้งมันน้อยลงก็เลยต้องชาร์จบ่อยขึ้นก็แค่นั้นเอง แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ แล้วอันเก่าที่ยังใช้ได้แต่มีประขจุน้อยลงจะเอาไปทำอะไรต่อดี

ขั้นตอนต่อมาของแบตเตอรี่เหล่านี้คือการ reuse มาทำ Energy storage ยกตัวอย่างเช่น Amsterdam's "Johan Cruyff Arena" multipurpose stadium ที่ได้มีการใน battery ของ Nissan Leaf รุ่นแรกมาทำเป็น Energy Storage 2.8MWh ... ใช้ Nissan Leaf กี่คันล่ะ รู้สึกว่ารุ่นแรกแบตเตอรี่ขนาด 24kWh ช่วงที่เอามาใช้คงมีความจุเหลืออยู่ที่ 20kWh แสดงว่าอย่างน้อยก็ต้องใช้  140 คันแหละ (ที่เอามาทำ Energy Storage ผู้ติดตั้งเค้ารับประกันแบตเตอรี่ 10 ปีด้วยนะ)


https://www.eaton.com/gb/en-gb/products/energy-storage/johan-cruijff-arena-success-story.html

ส่วนแบตเตอรี่ที่เสียนะเหรอ ส่งไป recycle ซิครับ ใน ASIAN เราก็ส่งไปสิงคโปร์ซิ เค้ามีโรงงาน recycle แบต Lithium อยู่นะ
https://www.tes-amm.com/battery-recycling

พวกข้อมูล paper กระบวนการ recycle battery lithium ของปี 2019 ลองไปอ่านอันนี้ดูละกัน
https://www.cell.com/heliyon/pdf/S2405-8440(19)34701-2.pdf

ไม่มีใครสนใจข้อมูลหรอกครับ 555
พอbev จะมา ก็ดักไว้ก่อน โน่นนี่นั่น ไฟไม่พอใช้ ไม่ได้ลดมลพิษจริง แบตทำลายที่ไหน บลาๆๆ
เรื่องแบต ใช้มือถือมาเปลี่ยนไม่รุ้กี่เครื่องแล้ว ก็แบตลิเทียมเหมือนรถ ไม่เห็นมีใครโวยวายเรื่องแบตทำลายที่ไหนยังไงเลย
องุ่นเปรี้ยว ชัดๆ

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,423
    • อีเมล์

แบตเตอรี่ไม่น่าห่วงครับบ
ห่วง ว่า ตอน รถทุกคัน จอดชาร์ทตอนลกลางคืนพร้อมกัน
ยอดรถยนต์ จดทะเบียน ใช้งาน ตอนนี้ 20 ล้านคัน รวมทุกประเภท
ตี สมุติ ใช้จริง 10 ล้านคัน จอดชาร์ท พร้อมกัน

จะขายจะดัน EV เคยถามการไฟฟ้า ไหม ไหวรึเปล่า ไม่ใช่ทำแค่แท่นชาร์ท ถามคนผลิตไฟด้วย พร้อมรึยัง กับ EV 100 %

จริงๆอยากให้ทาง headlightmag ทำจดหมายถึงการไฟฟ้าฝ่ายผลิต, การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เพื่อขอสัมภาษณ์เกี่ยวกับผลกระทบการใช้งานรถ EV ทุกคนจะได้รู้กันไปเลยว่าพวกเค้ามีความคิดยังไง มีแผนรองรับยังไงบ้าง
ซึ่งผมบอกเลยว่ามันจะพัฒนาแบบค่อยเป็นค่อยไป และรถ EV มันไม่ได้มาแบบที่เดียวถล่มถลายจนรถ ICE หายไป มันไม่มีทางเป็นแบบนั้น

ซึ่งตอนนี้มีนโยบายจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคออกมาแล้วว่าบ้านหนึ่งหลังสามารถขอมิเตอร์เพิ่มอีกหนึ่งอันสำหรับนำมาใช้ในการชาร์จรถไฟฟ้าโดยเฉพาะได้
https://www.facebook.com/Provincial.Electricity.Authority/photos/a.220381807991300/4226417164054391/

นั่นละครับ คือ สิ่งที่ Toyota กำลังจะสื่อ คือ มันต้องไป พร้อมกันในทุกๆด้าน
นโยบายอะไร ก้ควร คิดให้รอบคอบ ทำได้จริง ไม่ใช่ ฉาบฉวย
ประเด็นคือ ญี่ปุ่น จะยกเลิกไม่ให้มีรถันดาป ในปี 2035 แค่ 14 ปีจาก นี้  ซึ่ง ไม่น่าจะทำได้จริง โดยที่รัฐไม่ทำอะไรเลย นั่นบะ สรุปประเด็น ง่ายๆ
พวก ฝรั่ง มันก็ เอาไปวิเคราะห์ ใส่สี ตีไข เติมแต่ง แล้วเราก็เอามา ต่อ กัน มันส์เลย
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 24, 2020, 17:14:32 โดย mamaman »

ออฟไลน์ deertesla

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,245
ผมว่าเรามาดูกันก่อนดีกว่านะว่าปัจจุบันแบตเตอรี่ Lithium มีการพัฒนากันไปถึงไหน แนวโน้มการ reuse, recycle battery เป็นอย่างไรบ้าง

พูดถึงแบตเตอรี่ก่อนล่ะกัน แบตเตอรี่ Lithium ตอนนี้มีหลากหลายแบบมากกก ส่วนใหญ่ที่คนเรานึกถึงก็คือแบตเตอรี่มือถือ ซึ่งเป็นแบตเตอรี่ Lithium แบบ
Lithium Polymer (LiPo, LIP, Li-poly, lithium-poly) ซึ่งมี cycle life อยู่ประมาณ 300 cycle

*cycle life คือจำนวนรอบการชาร์จ ซึ่งจะชาร์จตั้งแต่ระดับ 0-100% แล้วก็ใช้งานจนหมด แล้วก็ชาร์จซ่ำ ทำแบบนี้วนไปเรื่อยๆ จนกระทั้งความจุแบตเตอรี่ลดลงเหลือ 80% เช่น แบตเตอรี่ LiPo มี cycle life อยู่ที่ 300 รอบ สมมุติว่าแบตลูกนี้มีความจุ 1 kWh เมื่อใช้งานจนครบ 300 cycle life แล้ว จะเหลือความจุที่ 0.8 kWh (และไม่ได้ถือว่าเสียหรือใช้งานต่อไม่ได้ ยังสามารถใช้ต่อได้แต่แค่จะต้องชาร์จมือถือบ่อยขึ้น)

ต่อมาแบตเตอรี่ที่ใช้ในรถยนต์ล่ะใช้แบบไหน ต่อนี้หลักๆเลยจะมี
NCA (Lithium nickel cobalt aluminum oxide battery) หลักๆที่ใช้คือ Tesla ซึ่งผู้ผลิตแบตเตอรี่คือ Panasonic (ช่วงปลายปี 2020 รถ Tesla Model3 ที่ประกอบจากโรงงานในจีนจะมีทั้ง NMC (จาก LG Chem) และ LFP (จาก CATL))
NMC (Lithium Nickel Manganese Cobalt Oxide battery) หลักๆที่ใช้คือรถที่รับ battery มาจากผู้ผลิตเกาหลีและจีน ซึ่ง NMC แบ่งเป็นหลายสูตรอีก เช่น
    NMC111, NMC523, NMC622, NMC811 โดยแต่ล่ะสูตรก็จะมีคุณสมบัติกันคนละแบบไปอีก เช่น
    NMC523 มี cycle life ประมาณ 1600 แต่เก็บประจุได้น้อยกว่า NMC811 แต่มีปลอดภัยกว่า (ถ้าจำไม่ผิด MG ZS EV กับ MG 5 EP จะใช้แบบนี้)
    NMC811 มี cycle life ประมาณ 1400 แต่เก็บประจุได้เยอะ แต่ไม่ค่อยปลอดภัย (ต้องมี BMS จัดการ battery ดีๆ มีรถบางรุ่นมีปัญหาจนต้องเปลี่ยนกลับไปใช้ NMC523 ก็มี)

LFP (Lithium Iron Phosphate battery, Lithium Ferro Phosphate(LiFePO4) battery) ผู้ผลิตส่วนใหญ่จะมาจากฝั่งจีน ข้อดีคือปลอดภัยกว่า NMC มาก แต่เก็บความจุได้น้อย มี cycle life มาก (4000 cycle) แต่เนื่องจากความจุน้อยช่วงหลังจึงมีการพัฒนามาเป็น LFMP (เพิ่ม Manganese เข้าไป)
 * ถ้าใครตามข่าวที่ว่าตอนนี้พัฒนาแบตเตอรี่ให้ใช้ได้ 1,000,000km ขึ้นไปได้แล้ว แบตเตอรี่ที่ว่าก็คือ LFMP กับ LNMO นี่แหละ


ที่นี้ลองมาคำนวณการใช้งานกัน
ยกตัวอย่างเป็น ORA Goodcat ละกัน พอดีรุ่นนี้ที่จีนมีแบตเตอรี่ให้เลือกสองแบบคือ 400km กับ 500km โดย 400 ใช้ LFP ส่วน 500 ใช้ NMC
400 km ตามมาตรฐาน NEDC จะเทียบเป็น WLTP ได้ที่ประมาณ 316km
500 km ตามมาตรฐาน NEDC จะเทียบเป็น WLTP ได้ที่ประมาณ 395km
ORA Goodcat 400 เมื่อมีการใช้งานครบ 4000 cycle จะมีระยะทางต่อการชาร์จตาม WLTP อยู่ที่ประมาณ 253km
เฉลี่ย 4000 cycle จะวิ่งไปแล้ว (316+253)/2 * 4000 = 1,138,000km
ORA Goodcat 500 เมื่อมีการใช้งานครบ 1600 cycle จะมีระยะทางต่อการชาร์จตาม WLTP อยู่ที่ประมาณ 316km
เฉลี่ย 1600 cycle จะวิ่งไปแล้ว (395+316)/2 * 1600 = 568,800km

ผมไม่แน่ใจว่าคนทั่วไปใช้รถกันเยอะขนาดไหนนะ แต่ส่วนตัวผมเองตีว่าปีนึงผมใช้รถประมาณ 20000km การจะใช้ให้ถึง 568,800km  คงใช้เวลาเกือบสามสิบปี
สมมุติว่ามีคนใช้งาน จนครบ 1600 cycle แล้วละ รถคันนี้จะใช้ไม่ได้เลยรึเปล่า ก็ไม่นะครับ ยังใช้ต่อได้เพียงแต่ระยะที่ได้ต่อการชาร์จหนึ่งครั้งมันน้อยลงก็เลยต้องชาร์จบ่อยขึ้นก็แค่นั้นเอง แต่ถ้ามีการเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่ แล้วอันเก่าที่ยังใช้ได้แต่มีประขจุน้อยลงจะเอาไปทำอะไรต่อดี

ขั้นตอนต่อมาของแบตเตอรี่เหล่านี้คือการ reuse มาทำ Energy storage ยกตัวอย่างเช่น Amsterdam's "Johan Cruyff Arena" multipurpose stadium ที่ได้มีการใน battery ของ Nissan Leaf รุ่นแรกมาทำเป็น Energy Storage 2.8MWh ... ใช้ Nissan Leaf กี่คันล่ะ รู้สึกว่ารุ่นแรกแบตเตอรี่ขนาด 24kWh ช่วงที่เอามาใช้คงมีความจุเหลืออยู่ที่ 20kWh แสดงว่าอย่างน้อยก็ต้องใช้  140 คันแหละ (ที่เอามาทำ Energy Storage ผู้ติดตั้งเค้ารับประกันแบตเตอรี่ 10 ปีด้วยนะ)


https://www.eaton.com/gb/en-gb/products/energy-storage/johan-cruijff-arena-success-story.html

ส่วนแบตเตอรี่ที่เสียนะเหรอ ส่งไป recycle ซิครับ ใน ASIAN เราก็ส่งไปสิงคโปร์ซิ เค้ามีโรงงาน recycle แบต Lithium อยู่นะ
https://www.tes-amm.com/battery-recycling

พวกข้อมูล paper กระบวนการ recycle battery lithium ของปี 2019 ลองไปอ่านอันนี้ดูละกัน
https://www.cell.com/heliyon/pdf/S2405-8440(19)34701-2.pdf

ไม่มีใครสนใจข้อมูลหรอกครับ 555
พอbev จะมา ก็ดักไว้ก่อน โน่นนี่นั่น ไฟไม่พอใช้ ไม่ได้ลดมลพิษจริง แบตทำลายที่ไหน บลาๆๆ
เรื่องแบต ใช้มือถือมาเปลี่ยนไม่รุ้กี่เครื่องแล้ว ก็แบตลิเทียมเหมือนรถ ไม่เห็นมีใครโวยวายเรื่องแบตทำลายที่ไหนยังไงเลย
องุ่นเปรี้ยว ชัดๆ
มันคนละขนาดกันครับแบตรถยนต์กับแบตโทรศัพท์  แล้วขั้นตอนรีไซเคิลมันก็ทำลายสิ่งแวดล้อมเช่นกัน  ส่วนไฟฟ้าก็ต้องมีแหล่งที่มาเช่นกันไม่ใช่เสกมาได้เอง ไม่ควรลำเอียงจนตาบอดเลยครับ