ผู้เขียน หัวข้อ: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด  (อ่าน 8188 ครั้ง)

ออฟไลน์ ThisIsYuTh

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 291
Re: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด
« ตอบกลับ #30 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2023, 17:01:55 »
PHEV ตามการคำนวณและการสำรวจในโพสต์นี้ รักษ์โลก กว่าที่ผมเคยคิด ครับ
(BEV เน้นขับในเมือง ก็สุดเช่นกัน ครับ
ส่วน ICE ผมก็ขับชานเมืองหรือต่างจังหวัดได้อย่างสบายใจ
สำหรับ HEV ก็เฉลี่ย ๆ ไป จากข้อมูลด้านล่างนี้ ดูดีใช้ได้ครับ)

จากข้อมูลกริดสหรัฐ (ผมกำลังหาข้อมูลในไทยนะครับ) โดยรวม
https://www.eia.gov/tools/faqs/faq.php?id=74&t=11
‘This equaled about 0.855 pounds of CO2 emissions per kWh.’
; เทียบเท่า 387.82148 กรัม

ดังนั้น ยกตัวอย่าง PHEV ที่มีแบต 11.6 kWh วิ่งไฟฟ้าได้ 40 กม.บริเวณเมือง
รถจะปล่อย CO2 387.82148*11.6/40 = 112.4682292 ก./กม.
แต่ถ้าวิ่งข้ามจังหวัดความเร็วสูงด้วยไฟฟ้า ทั้งทริป จะปล่อยมากขึ้น 50% โดยประมาณจากหลายท่านที่ใช้ EV บอกกันมาว่า เสียค่าไฟ จาก กม.ละเกือบ 1 บาท เป็นเกือบ 1.5 บาท
112.4682292*1.5 = 168.7023438 ก./กม.
(ถ้าลดทอนน้ำหนักรถลง เป็นต้น ก็อาจจะตีเป็นเลขกลม ๆ 100 ก./กม. ในเมือง และ 150 ก./กม. ต่างจังหวัด ครับ)

สรุปเทียบ BEV ICE PHEV ได้ข้อดีของแต่ละคัน ว่า
1. BEV วิ่งในเมืองสหรัฐ ปล่อยน้อยกว่ารถดั้งเดิม อันนี้เป็นที่รู้กัน
2. ICE วิ่งข้ามจังหวัดสหรัฐ แทบไม่ต่างกับรถ BEV
; ICE รุ่นใหม่ที่ได้ Euro6 ซึ่งเฉลี่ยตัวเลขกลม ๆ 150 ก./กม.
(แตกต่างกันแต่ละรุ่น ขอใช้ตัวเลขกลม ๆ กลาง ๆ ของรถ 0-100 ต่ำกว่า 10 วิ)
3. วิ่งข้ามจังหวัดสหรัฐ (P)HEV ปล่อย CO2 น้อยกว่า เพราะ (P)HEV วิ่งข้ามจังหวัด มันทำได้ดีกว่า ICE 30% ข้อมูลเว็บคุณ JIMMY นี้มีรวบรวมไว้

สมาชิกเห็นว่า ผมมีคำนวณอะไรพลาดไหม
ถ้าไม่พลาด ทางผมจะหาข้อมูลกริดเมืองไทยต่อไป แล้วมาแจ้งให้ทราบ

เสริมว่า ถ้าสนใจดู CO2e ทั้งชีวิตรถ (ไม่ใช่แค่ตอนวิ่ง) เทียบโมเดลรถในหน้าเดียวกันเลย แบบไม่ต้องค้นทีละคัน
ดูตรง Life cycle emissions for electric, plug-in hybrid and conventional hybrid cars based on 100,000 miles of driving and the average U.S. mix of electricity.
http://assets.climatecentral.org/pdfs/ClimateFriendlyCarsReport_Final.pdf

จะพบว่า องค์กรอิสระ ที่ได้รับการอ้างอิงมากกว่า 50,000 ครั้ง (รวมถึง UN) สำรวจพบว่า
รถที่ปล่อยน้อยที่สุด เท่าที่สำรวจ คือ
'Prius Plug-in Hybrid EV'
ก็ต้องยอมยกให้เจ้านี้ ครับ

ขอเสริมอีกหน่อยนึงว่า ถ้าเราเอา life cycle emissions มาวัดกัน ถ้าดูที่บ้านเราจะต้องคำนวนค่ามลพิษที่ใช้ในการขนส่งรถจากจีนมาไทย และค่าความสะอาดในการผลิตไฟฟ้าบ้านเราด้วย ตัวเลขมันจะยิ่งลดลงอีกสำหรับ EV
2020 - Mazda CX-5 2.5T (KF)
2016 - Subaru XV (GP)
2013 - Mitsubishi Pajero Sport (KG)
2010 - Honda Civic (FD)
2006 - BMW 3 Series (E36)

ออฟไลน์ poomsira

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 92
Re: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด
« ตอบกลับ #31 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2023, 18:11:20 »
เห็นด้วยครับ
ICE 14 ปีแล้ว ผมก็ยังเก็บอยู่และกะจะใช้จน 3xx,xxx กม.

ปล. ผมทำงานกับคนรุ่นใหม่ ก็จะมีแนวคิดรักษ์โลกเยอะเป็นพิเศษ รถผมก็พกกระติกติดรถ
และ ส่วนตัวทานเนื้อสัตว์แค่วันละมื้อเป็นส่วนใหญ่ด้วย ซึ่งบางคนคงทราบว่า CO2 ยิ่งน้อย

ผมเรียน Environmental Economics มาครับ ตอนนี้ทำงานเป็นที่ปรึกษาด้านความยั่งยืน จะบริโภคอะไรก็คิดมากกว่าชาวบ้านเค้าหน่อย (อาจจะพอๆ กับ จขกท. 555)   เข้า 7-11 ทีนึงใช้เวลานานมาก เพราะคิดว่า ถ้าจะกินอันนี้ จะกำจัดบรรจุภัณฑ์มันยังไงดีให้ถูกวิธี

แต่แนวโน้มที่สังเกตเห็น คนรุ่นใหม่ที่เจอ ไม่ค่อยคิดเรื่อง"รักษ์โลก" มากเท่าไหร่ แต่จะไปแนว "สังคม" (คือ เน้น S มากกว่า E ใน ESG)  ในออฟฟิศผม คนที่พกกระติก พกปิ่นโต นั่งรถไฟฟ้า ปั่นจักรยานมาทำงาน มีแต่วัย 40-50 อัพ แต่น้องๆ เด็กๆ ส่วนมาก ขับรถมา ถือแก้วพลาสติก single use ซื้ออาหารกล่องโฟม ประจำ ตอนนี้ ลุงๆ ป้าๆ ในออฟฟิศ กำลังพยายามผลักดันการแยกขยะ ต้องกราบไหว้ในรุ่นหลานๆ ช่วยแยกขยะหน่อยเถิด เราอุตส่าห์(ออกเงินส่วนตัว) ซื้อถังแยกขยะมาให้ ติดต่อแหล่งรับรีไซเคิล ให้เป็นเรื่องเป็นราวมาให้แล้วขอแค่น้องๆ ในออฟฟิศแยกขยะให้ถูก จะกลายเป็นออฟฟิศเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมขึ้นมาอีกหลายเท่า

เข้าเรื่องรถ และ consumption behavior
การใช้รถยนต์เก่าจนหมดอายุ (ถ้าไม่ใช่รถที่พ่นมลพิษมากมายมหาศาล) ก็น่าจะคุ้มค่าที่สุดเชิงนิเวศ (eco-efficient) ส่วนตัวผมเองที่ใชัจักรยานเป็นหลัก แต่ก็ชอบขับรถ(ยนต์) นะครับ คันต่อไป อาจจะ Volvo XC40 (single motor) หรือ EX30 แต่รอให้ Toyota Prius หมดสภาพก่อน ไม่รู้เมื่อไหร่ อาจจะอีกสิบปีก็เป็นได้   ในขณะเดียวกัน ก็ต้องดูความคุ้มค่าเชิงบัญชีด้วย เช่น trade-off ระหว่างค่าใช้จ่ายในการดูแลรถที่เก่าลงๆ ทุกปี กับ มูลค่าที่ยังพอขาย/เทิร์นได้

เคยฟังรายการวิทยุ CarTalk ของอเมริกา มีคนโทรไปถามว่า จะรู้ได้อย่างไรว่าควรจะเปลี่ยนรถใหม่เมื่อไหร่ คำตอบของสองพี่น้องผู้จัดรายการ (ซึ่งไม่ใช่ช่างซ่อมรถธรรมดาๆ แต่เป็นอาจารย์ จบ MIT) ตอบสั้นๆ ง่ายๆ ว่า เมื่อเราไม่ไว้วางใจรถคันนั้นว่าจะสามารถให้บริการพาเราไปสู่จุดหมายได้ ภายใต้การดูแลรักษาอย่างสมเหตุสมผล

ออฟไลน์ nobody123

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 140
Re: รถ BEV วิ่งความเร็วสูง ปล่อย CO2 มากกว่ารถ (P)HEV
« ตอบกลับ #32 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2023, 22:15:01 »
1.เป็นแค่บทความในFrobes ที่อ้างอิงมาจากเวบไวน์อีกที(ในเวบต้นทางหายไปแล้วอีกต่างหาก)
2.ผมลองค้นไม่เจอบทความนี้ในวารสารการแพทย์ใดๆ รวมทั้งเวบAmerican College of Gastroenterologyที่คุณอ้างถึงด้วย
3.ผมค้นชื่อคนที่พูด ก็ไม่เจองานวิจัยที่เค้าทำซักเปเปอร์
4.บทความตั้งแต่ปี2003แล้ว
 สรุปคือความน่าเชื่อถือต่ำมาก ในขณะที่มีงานวิจัยเป้นพันรวมทั้งsystemic review,metaanalysis บอกตรงกันว่าการดื่มalcoholเพิ่มโอกาสเกิดมะเร็งลำไส้
ในคนไข้มะเร็งลำไส้แพทย์จะแนะนำให้งดแอลกอฮอล์ทุกชนิด คุณจะเอาบทความอะไรก็ไม่รู้บทความเดียวาะแนะนำให้เค้าดื่มเพิ่มไม่ได้
ขอบคุณที่เป็นห่วงเพื่อนสมาชิกที่ป่วย ผมก็ห่วงเขาครับ
ผมไม่ทราบเพื่อนสมาชิกที่ห่วงนี่เป็นแพทย์หรือเปล่านะครับ ส่วนตัวผมทำงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ให้โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี หลายปี ครับ
ก็กูเกิล คำง่าย ๆ ‘red wine and colorectal cancer’ (ถ้าเสิร์ช alcohol แทน จะพบผลลบเป็นส่วนใหญ่ ครับ ต่างกับ red wine)
1.   นี่ครับ ที่คุณหาไม่เจอ
They found that red wine dramatically reduced the risk of colorectal neoplasia* by 68 percent but white wine did not.
*either polyps or cancer
[https://acgcdn.gi.org/wp-content/uploads/2011/07/media-releases-06ACG_Resveratrol.pdf]
2.   นี่บทความปี 2019 ครับ สำรวจ CRC 12,110 กรณี
This meta-analysis suggests that any wine consumption was not associated with the risk of CRC. Null associations were shown in men and women for colon and rectal cancer. [https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/30247171/]
3.   อันนี้ Cancer.gov ครับ
The plant secondary compound resveratrol, found in grapes used to make red wine and some other plants, has been investigated for many possible health effects, including cancer prevention. However, researchers have found no association between moderate consumption of red wine and the risk of developing prostate cancer (32) or colorectal cancer (33).
4.   หรือบทความปี 2018
During the last decade, numerous studies have revealed that a moderate consumption of wine, as part of a healthy diet, is associated with protective effects against relevant chronic diseases despite its ethanol content and it harmful effects. For several years, numerous epidemiological studies have maintained that a moderate consumption of wine lowered the risks of mortality due to coronary diseases, compared to wine abstinence [1,2]. For example, in France, as compared with other western countries with a fat-containing diet, the strikingly low incidence of coronary heart diseases is partly attributed to the moderate consumption of red wine [3].
A group of selected post-myocardial infarct patients receiving 250 mL/day of red wine for 2 weeks, in comparison to patients receiving water in a controlled environment in the hospital [13]. For the first time in a controlled environment, these results reinforced the idea that a moderate consumption of red wine, even for a short period, associated with a ‘‘Western prudent’’ diet, improves various blood parameters in the lipid and antioxidative status in patients with previous coronary ischemic accidents.
Other studies tend to show beneficial effects related to wine consumption on the occurrence of degenerative pathologies, for example, age-related macular degeneration (AMD) [14], dementia [15,16,17,18], and cancers [19,20]. Subsequently, various studies have been conducted to determine the effect of different preparations enriched with wine polyphenol or polyphenol grape extracts on various pathologies such as cardiovascular [21,22], ocular [23], inflammatory and age-related degenerative diseases [24,25], and cancers [26,27] (Figure 1).
Moreover, other case–control studies have examined the association between wine and the Mediterranean diet, showing a lower risk of colon cancer and certain other cancers, such as urinary tract tumors, compared to other diets [38,39,40].
One study did not find an inverse association between moderate red wine intake and the risk of colorectal cancer [41] or breast cancer [42].
Various reports have demonstrated the anticancer action of red wine polyphenols in animal models. For example, tumoral C26 growth was significantly reduced with red wine polyphenols in BALB/c mice [27]. In this study, red wine extract (RWE) decreased tumor vascularization and the expression of proangiogenic factors including vascular endothelial growth factor (VEGF), metalloproteinases (MMP-2, MMP-9), and cyclo-oxygenase-2 (COX-2) proteins (Figure 2).
Consequently, the effects of wine consumption, particularly in a healthy population, may depend on the composition of the wine or grape polyphenols and their bioavailability [54,55]. Otherwise, dietary polyphenols exert a beneficial effect at a local level (colon) directly, during their passage through the oral cavity and the gastrointestinal tract, and at a systemic level, after being absorbed. Therefore, one of the organs that can be a targeted is the intestine and colon.
[https://www.mdpi.com/2079-9721/6/4/106]
5.   หรือวารสารปี 2019
Researchers say people who drink a moderate amount of red wine have better gut health.
[https://www.healthline.com/health-news/red-wine-may-benefit-gut-health#:~:text=Why%20Red%20Wine%20Is%20Better%20Than%20White%20Wine%20for%20Gut%20Health&text=Researchers%20say%20people%20who%20drink,lower%20levels%20of%20bad%20cholesterol.]
6.   ถ้าไม่เชื่อวารสาร กลับมาดู pubmed ปี 2015
However, some studies suggest that moderate alcohol consumption may have a protective effect, similar to that seen in cardiovascular disease.
[https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/26110674/]
7.   หรือปี 2010 นี่ครับ
Moderate alcohol consumption was associated with a reduced CRC risk in study populations with greater adherence to a Mediterranean diet, where wine contributed substantially to the alcoholic beverage consumed.
[https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/20661834/#:~:text=The%20lack%20of%20clear%20association,population%20of%20middle%2Daged%20men.]
8.   กลับมาวารสาร ที่อ้างอิงแหล่งแพทย์วารสารการแพทย์หลายแหล่ง
Rich in antioxidants
There are many antioxidant-rich foods and beverages, and wine is one of them.
Antioxidants are compounds that prevent cellular damage caused by inflammation and oxidative stress. Oxidative stress is a condition caused by an imbalance between antioxidants and unstable molecules called free radicals, which can damage your cells (5Trusted Source).
Grapes have high levels of polyphenols, which are antioxidants that have been shown to reduce oxidative stress and inflammation (6Trusted Source).
Because red wine grapes are higher in antioxidants than white grape varieties, drinking red wine may increase your blood antioxidant levels to a greater extent than drinking white (7Trusted Source).
One 2023 meta-analysis concluded that moderate amounts of red wine, in the context of a Mediterranean diet, showed beneficial effects on the oxidative status of healthy subjects due to the increased expression of antioxidant enzymes (8Trusted Source).
Higher antioxidant status is associated with a decreased risk of disease (9Trusted Source).
May help combat inflammation
Wine contains compounds that have anti-inflammatory properties.
Chronic inflammation is harmful and may increase the risk of conditions such as heart disease, autoimmune disorders, and certain cancers. Therefore, it’s best to prevent this type of inflammation as much as possible (10Trusted Source).
Chronic inflammation can be reduced through diet, stress reduction, and exercise.
Many foods have the power to reduce inflammation, and wine is thought to be one of them.
Studies suggest that a compound called resveratrol in wine has anti-inflammatory properties and may benefit health (11Trusted Source).
A 2021 trial study of coronary heart disease patients found that low to moderate wine consumption lowered their inflammation (12Trusted Source).
Meanwhile, a 2018 study determined that moderate alcohol consumption helped prevent inflammation from rheumatoid arthritis, though it didn’t affect the severity of already-existing inflammation (13Trusted Source).

•   May promote longevity. Studies have found that drinking moderate amounts of wine as part of a healthy diet is linked with increased longevity (22Trusted Source, 23Trusted Source).
•   May promote healthy gut bacteria. Recent studies have even suggested that red wine may promote the growth of beneficial gut bacteria, which may improve metabolic syndrome markers in people with obesity (23Trusted Source, 24Trusted Source).

[https://www.healthline.com/nutrition/benefits-of-wine#healthiest-type]
ดังนั้น ในเมื่อผมค้นคำพื้น ๆ แล้วผลส่วนใหญ่บอกว่า ไม่ส่งผล หรือ ส่งผลดี ผมเลยแนะนำเพื่อนสมาชิก และ ผมก็ดื่มเอง ครับ
ผมขอย้ำนะครับ ‘ไวน์แดง แบ่งดื่มอย่างต่ำสามครั้ง สัปดาห์ไม่เกินขวด’

ออฟไลน์ Kanarath

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 398
Re: รถ BEV วิ่งความเร็วสูง ปล่อย CO2 มากกว่ารถ (P)HEV
« ตอบกลับ #33 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2023, 22:25:15 »
ทุกวันนี้ ผมยังสงสัยอยู่เลยว่า มะเร็งลำไส้ที่ผมเจอ เกิดจากผมกินปลาทูน่าดิบเยอะเกินไปหรือเปล่า

กินปลาดิบเยอะเกินไปก็มีดีและไม่ดีนะครับ
ตลอดระยะการรักษามะเร็งของผม เม็ดเลือดขาวผมไม่ลดแม้แต่น้อยจนหมองง งงมากด้วย มีบางครั้งให้ผมเจาะเลือดซ้ำก็มี

ที่ผมสงสัยก็เพราะตอนนอนอยู่รพ.ผ่าตัด มีฉายสารคดีตอนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์​ที่ญี่ปุ่นระเบิดนี่แหละ ถ้าทูน่าที่ผมทานมาจากทางตอนใต้ของญี่ปุ่น ก็จัดเต็มเลย

ไม่มีอะไรที่ได้มาโดยไม่เสียไปครับ
ขนาดน้ำหล่อเย็นในระบบยังไม่ปลอดภะย 100% เลย บำบัดเสร็จก็ต้องปล่อยออกมาสู่โลกๅายนอกอยู่ดี

ดมควันดมฝุ่นมากๆ ก็เป็นมะเร็งปอด
แต่ถ้าได้รับสารพิษ ก็จะเป็นมะเร็งที่อื่น

ชีวิตมนุษย์มันก็สั้นแค่นี้แหละครับ
ดื่มไวน์แดงซักสัปดาห์ละขวด แบ่งดื่มสามครั้ง ช่วยลดการเกิดมะเร็งลำไส้ ครับ
ขอบคุณมากครับ พฤศจินี้จะเก็บลำไส้เล็กเข้าที่แล้ว หลังจากนี้คงต้องทานอย่างระมัดระวังแล้วล่ะ

ขอให้หายดีเป็นปกติ สุขภาพแข็งแรงนะครับ

ออฟไลน์ kiwiwi

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,867
Re: รถ BEV วิ่งความเร็วสูง ปล่อย CO2 มากกว่ารถ (P)HEV
« ตอบกลับ #34 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2023, 23:47:52 »
ทุกวันนี้ ผมยังสงสัยอยู่เลยว่า มะเร็งลำไส้ที่ผมเจอ เกิดจากผมกินปลาทูน่าดิบเยอะเกินไปหรือเปล่า

กินปลาดิบเยอะเกินไปก็มีดีและไม่ดีนะครับ
ตลอดระยะการรักษามะเร็งของผม เม็ดเลือดขาวผมไม่ลดแม้แต่น้อยจนหมองง งงมากด้วย มีบางครั้งให้ผมเจาะเลือดซ้ำก็มี

ที่ผมสงสัยก็เพราะตอนนอนอยู่รพ.ผ่าตัด มีฉายสารคดีตอนโรงไฟฟ้านิวเคลียร์​ที่ญี่ปุ่นระเบิดนี่แหละ ถ้าทูน่าที่ผมทานมาจากทางตอนใต้ของญี่ปุ่น ก็จัดเต็มเลย

ไม่มีอะไรที่ได้มาโดยไม่เสียไปครับ
ขนาดน้ำหล่อเย็นในระบบยังไม่ปลอดภะย 100% เลย บำบัดเสร็จก็ต้องปล่อยออกมาสู่โลกๅายนอกอยู่ดี

ดมควันดมฝุ่นมากๆ ก็เป็นมะเร็งปอด
แต่ถ้าได้รับสารพิษ ก็จะเป็นมะเร็งที่อื่น

ชีวิตมนุษย์มันก็สั้นแค่นี้แหละครับ
ดื่มไวน์แดงซักสัปดาห์ละขวด แบ่งดื่มสามครั้ง ช่วยลดการเกิดมะเร็งลำไส้ ครับ
ขอบคุณมากครับ พฤศจินี้จะเก็บลำไส้เล็กเข้าที่แล้ว หลังจากนี้คงต้องทานอย่างระมัดระวังแล้วล่ะ

ขอให้หายดีเป็นปกติ สุขภาพแข็งแรงนะครับ
ขอบคุณมากนะครับ

ออฟไลน์ kiwiwi

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,867
Re: รถ BEV วิ่งความเร็วสูง ปล่อย CO2 มากกว่ารถ (P)HEV
« ตอบกลับ #35 เมื่อ: ตุลาคม 02, 2023, 23:59:24 »

เอามาจากไหนครับไม่เคยได้ยิน มีงานวิจัยอ้างอิงมั้ย

เพราะงานวิจัยปัจจุบันบอกว่าการดื่มalcoholเป็นปัจจัยเสี่ยงหนึ่งที่ทำให้เกิดมะเร็งลำไส้ ยิ่งดื่มยิ่งเสี่ยงนะครับ

An association between alcohol consumption and an increased risk of CRC has been observed in several studies. A meta-analysis of 27 cohort and 34 case-control studies concluded that, compared with never drinkers, there was a significant increase in risk of CRC for moderate (two to three drinks per day, summary RR 1.21, 95% CI 1.13-1.28) and heavy drinkers (≥4 drinks per day, RR 1.52, 95% CI 1.27-1.81), but not light drinkers (≤1 drink per day, RR 1.00, 95% CI 0.95-1.05) [159]. These results are consistent with other pooled analyses [160-162]. However, in contrast to prior studies, a dose-response analysis found a significant 7 percent increase in risk of CRC even in light drinkers (RR for ingestion of 10 g/day of ethanol 1.07 [95% CI 1.04-1.10]). The elevated risk may be related to interference of folate absorption by alcohol and decreased folate intake
เรื่องไวน์แดง (ไม่ใช่แอลอย่างอื่น) ที่ผมแนะนำเพื่อนสมาชิกที่ป่วย
ผมเอามาจาก American College of Gastroenterology (ACG) / องค์กรแพทย์กลางสหรัฐ (ผมลืมชื่อแล้ว แต่เป็นการสำรวจหลังปี 2010 โดยเป็นการสำรวจคนดื่มสัปดาห์ละ แก้ว-ไม่เกินขวด) / Forbes ซึ่งออกข่าวโรงพยาบาลสำรวจคนไข้ 600 คน ครับ

ขอบคุณครับที่ Raise ประเด็น คนจะได้ไม่ไปนั่งดื่มกันหมด
เพราะคุณพูดถูกครับ ถ้าไม่มีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งลำไส้ การดื่ม อาจเพิ่มโอกาส (แต่ลองอ่านด้านล่างดูด้วยครับ)

ส่วนคนเป็นแล้วและตัดแล้ว หมอนี่แหละครับแนะนำให้ดื่มไวน์แดง (ไม่ใช่แอลอย่างอื่นนะครับ)
ที่ดื่มแล้วหายจริง ค่า COE เกือบศูนย์ หลังต้องตัดระยะเกือบท้าย คือ คุณพ่อของเซลส์ Cortina watch เซนทรัลลาดพร้าว ครับ แต่เขาทานสมุนไพรด้วย ก็บอกยากว่า อะไรแน่คือสาเหตุให้คนเกือบตายหายสนิท

ส่วนการป้องกัน เนื้องอกในลำไส้ Forbes ระบุจากผลของโรงพยาบาล ที่สำรวจคนไข้ 600 ที่ดื่มกลาง ๆ นี่ครับ
(อย่าลืมนะครับ ดื่มน้อย ๆ ลดเนื้องอกในลำไส้ ซึ่งอาจพัฒนาเป็นมะเร็งลำไส้ก็จริง แต่เพิ่มโอกาสมะเร็งอย่างอื่น
#2 สรุปให้จากพารากราฟก่อนสุดท้ายด้านล่าง ดื่มมากกว่า 2 แก้วต่อวัน ตรงกันข้าม จะเพิ่มโอกาสเกิดเนื้องอก ครับ)

Having a glass or two of wine every day may help reduce the occurrence of bowel polyps, which are a precursor to colon cancer, scientists at New York's Our Lady of Mercy Medical Center recently announced.

"The apparent protective effect exists among those who consume mild to moderate amounts of alcohol, that is, up to two drinks per day," said researcher Rajeev Jayadevan Rajeev Jayadevan . "When separately analyzed, wine, distilled spirits and beer produced the same effects independently."

Polyps are projecting masses of swollen membrane that are sometimes found in the colon. Usually benign, the growths can be singular or in bunches and, over time, they may become tumorous and lead to colon cancer.

Colorectal cancer is the third-most common cancer in the U.S., with an estimated 105,500 new cases of it expected among Americans in 2003, according to the American Cancer Society. So the New York research team decided to study whether there is a link between alcohol consumption and the occurrence of polyps.

Jayadevan presented his team's findings at Digestive Diseases Weekly, the world's largest annual gastroenterology conference, in Orlando, Fla., on May 19. He said the research is ongoing, and the results he presented were preliminary. "At the time, we only had data on 217 patients," he said. "Now, we have analyzed data on over 600 patients, and the findings remain the same."

For the study, the researchers selected patients receiving colonoscopies in the endoscopy unit of their hospital. They were asked to fill out questionnaires on lifestyle factors, such as diet choices and smoking and drinking habits. Gender and race were also taken into account.

After receiving the patients' colonoscopy exam results, the scientists compared the occurrence of polyps, which were found in 30% of the patients, against their reported drinking habits.

The researchers found that those who don't drink had a 38% risk of developing polyps.

Those who consumed one to two drinks a day, on the other hand, had an 80% lower chance than nondrinkers of developing the growths--or a risk factor of 7.5%. The few participants so far who drank more than two glasses a day showed a slightly higher risk of developing polyps than nondrinkers.

Those who drank moderately as a habit, meaning they had been consuming alcohol for more than ten years, tended to be free of the growths.

ผมเดาว่าคุณเอามาจากอันนี้นะครับ
https://www.forbes.com/2003/06/10/cx_0610wine.html?sh=ae1e2276b400

1.เป็นแค่บทความในFrobes ที่อ้างอิงมาจากเวบไวน์อีกที(ในเวบต้นทางหายไปแล้วอีกต่างหาก)
2.ผมลองค้นไม่เจอบทความนี้ในวารสารการแพทย์ใดๆ รวมทั้งเวบAmerican College of Gastroenterologyที่คุณอ้างถึงด้วย
3.ผมค้นชื่อคนที่พูด ก็ไม่เจองานวิจัยที่เค้าทำซักเปเปอร์
4.บทความตั้งแต่ปี2003แล้ว
 สรุปคือความน่าเชื่อถือต่ำมาก ในขณะที่มีงานวิจัยเป้นพันรวมทั้งsystemic review,metaanalysis บอกตรงกันว่าการดื่มalcoholเพิ่มโอกาสเกิดมะเร็งลำไส้
ในคนไข้มะเร็งลำไส้แพทย์จะแนะนำให้งดแอลกอฮอล์ทุกชนิด คุณจะเอาบทความอะไรก็ไม่รู้บทความเดียวาะแนะนำให้เค้าดื่มเพิ่มไม่ได้
พอดีวันนี้มีข่าวว่าผู้หญิงรักสุขภาพ แต่เป็นมะเร็งลำไส้ พอกดเข้าไปอ่านเนื้อข่าวคือ เธอชอบดื่มน้ำหวาน

เคสของผมคือผมไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล​เลยครับ เมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว ยอมรับว่าเคยดื่มกาแฟหวานๆเกือบทุกวัน แต่ก็เลิกดื่มกาแฟหวานๆ มาสิบกว่าปีแล้ว

แต่ขนาดช่วงที่ดื่มกาแฟหวาน เคยตรวจเลือดผ่าตัดฝี ค่าน้ำตาลและไขมันก็ไม่เกินเกณฑ์เหมือนในข่าวที่ลงวันนี้แต่อย่างใด ทำให้ผมไปโฟกัสเรื่องการทานซาสืมิทูน่ามากกว่า เพราะผมทานเดือนละหลายครั้งเลย

ตอนที่ถามคุณหมอที่ทำผ่าตัดให้ผมว่า มันเกิดได้ยังไง หมอบอกได้แค่ มันจะเกิดก็ต้องเกิด หมอเองบอกว่า มีคนที่ทานสะอาดดูแลตัวเองดีมากๆก็เป็นมาให้หมอผ่าแล้วหลายคน

ฟังอย่างนี้แล้ว ไปไม่ถูกเลย

ออฟไลน์ nobody123

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 140
Re: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด
« ตอบกลับ #36 เมื่อ: ตุลาคม 03, 2023, 08:43:23 »
โพสต์นี้เดินทางมาถึงจุดนี้แล้ว เดินต่อเลยครับ เพื่อเพื่อน จากคนเคยตัด Polyps ครับ
1.   เริ่มจากอย่างแรกเลย ไวน์แดง ในปริมาณเหมาะสมดังระบุในโพสต์ก่อน
a.   คนมีญาติสายตรงเสียด้วยมะเร็งลำไส้ และ ไม่ได้เกิดจากมะเร็งอื่น เช่น ตับ ดื่มได้ ประโยชน์มากกว่าโทษ และ ควรส่องกล้อง 10 ปีก่อนอายุที่บุพการีตรวจพบมะเร็ง
b.   คนตัด Polyps แล้ว ดื่มได้ ลดการเกิดซ้ำ
c.   คนตัดมะเร็งแล้ว ต้องดูว่าลามไปอวัยวะอื่นไหม ถ้าลาม ไม่ควรดื่ม ถ้าไม่ลาม ผมพบว่าพ่อของเซลส์ผู้ชาย Cortina watch เซนทรัลลาดพร้าวดื่มพร้อมสมุนไพร ค่ามะเร็ง ศูนย์ แต่ไม่รู้เขาทานสมุนไพรอะไรประกอบ
d.   คนมีญาติสายตรงเป็นมะเร็งอย่างอื่น ดื่มแล้ว โทษน่าจะมากกว่าประโยชน์ดังคุณ shando ระบุ
2.   แต่ด้านบน มันใช้งบเยอะครับ งบน้อย ๆ
a.   ทานผักที่สะอาดเป็นกระบุง ห้าฝายมือต่อวัน
b.   ลดการทานเนื้อแดงเหลือสัปดาห์ละสองมื้อ
c.   ทานปลาอย่างต่ำสัปดาห์ละสองมื้อ
d.   ทาน Probiotic ทุกวัน ถ้ามีเบาหวาน เป็นต้น ซื้อแบบเม็ด/ซองไม่มีน้ำตาลมาชงเอง
3.   การทำให้ภูมิต้านทานกลับมารู้จำเซลมะเร็ง (หลังจากถูกหลอก ให้ใส่เกียร์ว่าง) วิธีนึงที่ทำได้ทุกคน คือ การออกกำลังกายแบบ Endurance หนึ่งชั่วโมงครึ่งเป็นต้นไป โดย Endurance ที่เน้นการดึงศักยภาพระดับยีน คือ หัวใจเต้น 50-75% ของ Max Heart Rate อย่างผมอายุ 44 MHR 190 ผมจะคุมให้เต้นไม่เกิน 142 สัปดาห์ละวัน
; ผลพลอยได้ คือ การผลาญไขมันทำให้เส้นเลือดยิ่งวิ่งคล่อง MHR จะยิ่งสูงขึ้น Resting heart rate ต่ำ เพื่อนผมต่ำอย่างกับนักกีฬา คือ 50 ครั้งต่อนาที
4.   การทำให้ภูมิต้านทานที่กลับมารู้จำแล้ว ยิ่งคึกคัก คือ การออกกำลังกายแบบ High Intensity Interval Training คือ หัวใจเต้นรอบ Burn fat สลับกับโซน 4-5 ซัก 20-45 นาทีต่อวัน สัปดาห์ละวัน
5.   วันที่เหลือในสัปดาห์ ก็ Strength 45 นาที เป็นต้น ครับ

เช่นเดียวกับคุณ poomsira กลับมาเรื่องรถ
สมาชิกไม่เอะใจโพสต์สุดท้ายผมหน้าแรกหรือครับ
ที่การเลือกรถต่างกัน ส่งผลต่อ CO2 สองรูปแบบปีเลย
เป็นอย่างนี้ครับ การเลือกรถที่ต่างกัน
1.   ถ้าคิดเฉพาะ CO2 เฉพาะที่เสียไปตอนรถวิ่ง แล้วสมมติว่าต่างกัน 50 ก./กม.แล้ววิ่ง 300,000 กม. จะเท่ากับ CO2 จากอาหารที่คนไทยคนนึงรับประทาน ตลอดอายุการทำงาน 20-60 ปี เป็นต้น (คนอินเดีย กินมัง อันนี้ เทียบเท่าทานเป็นหลักร้อยปี ครับ)
2.   ถ้าคิด CO2e อันนี้แหละครับ เทียบเท่าอาหารตั้งแต่คุณพ่อ คุณแม่ เกิด แล้วมีลูก จนลูกเลี้ยงตัวเองได้ ครับ

สังคม HeadlightMag น่าอยู่มาก รักษาสุขภาพ ครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ตุลาคม 03, 2023, 10:03:55 โดย nobody123 »

ออฟไลน์ shando

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,866
Re: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด
« ตอบกลับ #37 เมื่อ: ตุลาคม 04, 2023, 15:49:17 »
1.เป็นแค่บทความในFrobes ที่อ้างอิงมาจากเวบไวน์อีกที(ในเวบต้นทางหายไปแล้วอีกต่างหาก)
2.ผมลองค้นไม่เจอบทความนี้ในวารสารการแพทย์ใดๆ รวมทั้งเวบAmerican College of Gastroenterologyที่คุณอ้างถึงด้วย
3.ผมค้นชื่อคนที่พูด ก็ไม่เจองานวิจัยที่เค้าทำซักเปเปอร์
4.บทความตั้งแต่ปี2003แล้ว
 สรุปคือความน่าเชื่อถือต่ำมาก ในขณะที่มีงานวิจัยเป้นพันรวมทั้งsystemic review,metaanalysis บอกตรงกันว่าการดื่มalcoholเพิ่มโอกาสเกิดมะเร็งลำไส้
ในคนไข้มะเร็งลำไส้แพทย์จะแนะนำให้งดแอลกอฮอล์ทุกชนิด คุณจะเอาบทความอะไรก็ไม่รู้บทความเดียวาะแนะนำให้เค้าดื่มเพิ่มไม่ได้
ขอบคุณที่เป็นห่วงเพื่อนสมาชิกที่ป่วย ผมก็ห่วงเขาครับ
ผมไม่ทราบเพื่อนสมาชิกที่ห่วงนี่เป็นแพทย์หรือเปล่านะครับ ส่วนตัวผมทำงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ให้โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี หลายปี ครับ
ก็กูเกิล คำง่าย ๆ ‘red wine and colorectal cancer’ (ถ้าเสิร์ช alcohol แทน จะพบผลลบเป็นส่วนใหญ่ ครับ ต่างกับ red wine)
1.   นี่ครับ ที่คุณหาไม่เจอ
They found that red wine dramatically reduced the risk of colorectal neoplasia* by 68 percent but white wine did not.
*either polyps or cancer
[https://acgcdn.gi.org/wp-content/uploads/2011/07/media-releases-06ACG_Resveratrol.pdf]
2.   นี่บทความปี 2019 ครับ สำรวจ CRC 12,110 กรณี
This meta-analysis suggests that any wine consumption was not associated with the risk of CRC. Null associations were shown in men and women for colon and rectal cancer. [https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/30247171/]
3.   อันนี้ Cancer.gov ครับ
The plant secondary compound resveratrol, found in grapes used to make red wine and some other plants, has been investigated for many possible health effects, including cancer prevention. However, researchers have found no association between moderate consumption of red wine and the risk of developing prostate cancer (32) or colorectal cancer (33).
4.   หรือบทความปี 2018
During the last decade, numerous studies have revealed that a moderate consumption of wine, as part of a healthy diet, is associated with protective effects against relevant chronic diseases despite its ethanol content and it harmful effects. For several years, numerous epidemiological studies have maintained that a moderate consumption of wine lowered the risks of mortality due to coronary diseases, compared to wine abstinence [1,2]. For example, in France, as compared with other western countries with a fat-containing diet, the strikingly low incidence of coronary heart diseases is partly attributed to the moderate consumption of red wine [3].
A group of selected post-myocardial infarct patients receiving 250 mL/day of red wine for 2 weeks, in comparison to patients receiving water in a controlled environment in the hospital [13]. For the first time in a controlled environment, these results reinforced the idea that a moderate consumption of red wine, even for a short period, associated with a ‘‘Western prudent’’ diet, improves various blood parameters in the lipid and antioxidative status in patients with previous coronary ischemic accidents.
Other studies tend to show beneficial effects related to wine consumption on the occurrence of degenerative pathologies, for example, age-related macular degeneration (AMD) [14], dementia [15,16,17,18], and cancers [19,20]. Subsequently, various studies have been conducted to determine the effect of different preparations enriched with wine polyphenol or polyphenol grape extracts on various pathologies such as cardiovascular [21,22], ocular [23], inflammatory and age-related degenerative diseases [24,25], and cancers [26,27] (Figure 1).
Moreover, other case–control studies have examined the association between wine and the Mediterranean diet, showing a lower risk of colon cancer and certain other cancers, such as urinary tract tumors, compared to other diets [38,39,40].
One study did not find an inverse association between moderate red wine intake and the risk of colorectal cancer [41] or breast cancer [42].
Various reports have demonstrated the anticancer action of red wine polyphenols in animal models. For example, tumoral C26 growth was significantly reduced with red wine polyphenols in BALB/c mice [27]. In this study, red wine extract (RWE) decreased tumor vascularization and the expression of proangiogenic factors including vascular endothelial growth factor (VEGF), metalloproteinases (MMP-2, MMP-9), and cyclo-oxygenase-2 (COX-2) proteins (Figure 2).
Consequently, the effects of wine consumption, particularly in a healthy population, may depend on the composition of the wine or grape polyphenols and their bioavailability [54,55]. Otherwise, dietary polyphenols exert a beneficial effect at a local level (colon) directly, during their passage through the oral cavity and the gastrointestinal tract, and at a systemic level, after being absorbed. Therefore, one of the organs that can be a targeted is the intestine and colon.
[https://www.mdpi.com/2079-9721/6/4/106]
5.   หรือวารสารปี 2019
Researchers say people who drink a moderate amount of red wine have better gut health.
[https://www.healthline.com/health-news/red-wine-may-benefit-gut-health#:~:text=Why%20Red%20Wine%20Is%20Better%20Than%20White%20Wine%20for%20Gut%20Health&text=Researchers%20say%20people%20who%20drink,lower%20levels%20of%20bad%20cholesterol.]
6.   ถ้าไม่เชื่อวารสาร กลับมาดู pubmed ปี 2015
However, some studies suggest that moderate alcohol consumption may have a protective effect, similar to that seen in cardiovascular disease.
[https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/26110674/]
7.   หรือปี 2010 นี่ครับ
Moderate alcohol consumption was associated with a reduced CRC risk in study populations with greater adherence to a Mediterranean diet, where wine contributed substantially to the alcoholic beverage consumed.
[https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/20661834/#:~:text=The%20lack%20of%20clear%20association,population%20of%20middle%2Daged%20men.]
8.   กลับมาวารสาร ที่อ้างอิงแหล่งแพทย์วารสารการแพทย์หลายแหล่ง
Rich in antioxidants
There are many antioxidant-rich foods and beverages, and wine is one of them.
Antioxidants are compounds that prevent cellular damage caused by inflammation and oxidative stress. Oxidative stress is a condition caused by an imbalance between antioxidants and unstable molecules called free radicals, which can damage your cells (5Trusted Source).
Grapes have high levels of polyphenols, which are antioxidants that have been shown to reduce oxidative stress and inflammation (6Trusted Source).
Because red wine grapes are higher in antioxidants than white grape varieties, drinking red wine may increase your blood antioxidant levels to a greater extent than drinking white (7Trusted Source).
One 2023 meta-analysis concluded that moderate amounts of red wine, in the context of a Mediterranean diet, showed beneficial effects on the oxidative status of healthy subjects due to the increased expression of antioxidant enzymes (8Trusted Source).
Higher antioxidant status is associated with a decreased risk of disease (9Trusted Source).
May help combat inflammation
Wine contains compounds that have anti-inflammatory properties.
Chronic inflammation is harmful and may increase the risk of conditions such as heart disease, autoimmune disorders, and certain cancers. Therefore, it’s best to prevent this type of inflammation as much as possible (10Trusted Source).
Chronic inflammation can be reduced through diet, stress reduction, and exercise.
Many foods have the power to reduce inflammation, and wine is thought to be one of them.
Studies suggest that a compound called resveratrol in wine has anti-inflammatory properties and may benefit health (11Trusted Source).
A 2021 trial study of coronary heart disease patients found that low to moderate wine consumption lowered their inflammation (12Trusted Source).
Meanwhile, a 2018 study determined that moderate alcohol consumption helped prevent inflammation from rheumatoid arthritis, though it didn’t affect the severity of already-existing inflammation (13Trusted Source).

•   May promote longevity. Studies have found that drinking moderate amounts of wine as part of a healthy diet is linked with increased longevity (22Trusted Source, 23Trusted Source).
•   May promote healthy gut bacteria. Recent studies have even suggested that red wine may promote the growth of beneficial gut bacteria, which may improve metabolic syndrome markers in people with obesity (23Trusted Source, 24Trusted Source).

[https://www.healthline.com/nutrition/benefits-of-wine#healthiest-type]
ดังนั้น ในเมื่อผมค้นคำพื้น ๆ แล้วผลส่วนใหญ่บอกว่า ไม่ส่งผล หรือ ส่งผลดี ผมเลยแนะนำเพื่อนสมาชิก และ ผมก็ดื่มเอง ครับ
ผมขอย้ำนะครับ ‘ไวน์แดง แบ่งดื่มอย่างต่ำสามครั้ง สัปดาห์ไม่เกินขวด’

ตอบทีละข้อนะครับ
1.เอกสารนี้เหมือนเป็นแค่press releaseมากกว่า ส่วนเปเปอร์จริงที่เอกสารนี้อ้างถึงไม่ทราบว่าตีพิมพ์ที่ไหน เพราะลองหาชื่อคนแต่ง Joseph C. Andersonดูแล้วก็ไม่พบเปเปอร์นี้ในวรสารใดๆ มีแต่ใกล้เคียงที่สุด ชื่อPrevalence and Risk of Colorectal Neoplasia in Consumers of Alcohol in a Screening Population ซึ่งก็บอกอยู่ว่าOur cross-sectional design prevents any conclusion regarding causality and thus limits the validity of these findings or any recommendation to consume wine
2.ลองอ่านเปเปอร์เต็มดูรึยังครับ ในpart discussionเค้าเขียนอยู่ว่ามันมีlimitationเยอะมาก จนอาจทำให้เปเปอร์นี้แปลผลผิดพลาดได้ และตอนสรุปมันก็สรุปได้แค่wine consumption may not have an influence on the development of CRCแค่นั้น ไม่ได้บอกว่ากินแล้วดี
3.ไปดูในreferenceที่33ที่เค้าอ้างอิงในการเขียนประโยคนี้สิครับ เปเปอร์มันชื่อ  Red wine consumption not associated with reduced risk of colorectal cancer. Nutrition and Cancer 2010; 62(6):849–855 แปลว่าผลการศึกษาบอกว่าการดื่มไวน์แดง ไม่ได้ช่วยลดโอกาสเกิดcolorectal cancerซึ่งก็คือเปเปอร์ข้อ7นั่นแหละ
4.เนื้อหาส่วนใหญ่เป็นการพรรณนาถึงประโยชน์รวมๆของred wineซะมากกว่า ที่พอจะเกี่ยวหน่อยก็เป็นส่วนที่เค้าอ้างอิงเปเปอร์ที่ทดลองในหนูที่ว่าสารสกัดจาก red wineอาจจะช่วยลดการเกิดaberrant crypt fociได้ ซึ่งมันเป็นการassumeมากๆถ้าจะเอามาสรุปว่าการกินred wineช่วยป้องกันcolorectal cancerได้ ยกตัวอย่างเหมือนบอกว่าทดลองเติมหัวเชื้อน้ำมันAลงในเครื่องตัดหญ้าแล้วเครื่องมีเขม่าน้อยลง ดังนั้นหัวเชื้อAช่วยป้องกันไม่ให้รถยนต์พังได้อะไรแบบนี้
5.อันนี้ไม่เกี่ยวกับcolorectal cancerเลย บอกแค่ว่าการดื่มไวน์ช่วยเพิ่มแบคทีเรียชนิดดีในลำไส้ ส่วนที่พูดเกี่ยวกับมะเร็งเค้าก็เขียนอยู่ว่าAlcohol — including red wine — can raise your chancesTrusted Source of several types of cancer.
“The less alcohol you drink, the lower your risk of cancer,” the Centers for Disease Control and Prevention states.
6.อันนี้เป็นreview articlegต้องไปดูในรายละเอียดแต่ละpaperที่เค้าเอามาอ้างอิง แต่เปเปอร์ส่วนที่เกี่ยวข้องกับเรื่องred wine และCRC เป็นcase-control study2-3อันที่ทำด้วยการถามแบบสอบถามที่ผมอ่านดูแล้วต้องบอกว่าไม่ค่อยน่าเชื่อถือเท่าไหร่ ถ้ามีความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัยก็จะพอรู้ว่าการศึกษาแบบcase-controlนี่ความน่าเชื่อถือต่ำสุดรองจากexpert opinionเลย
7.อันนี้ตลก เพราะลิ้งที่คุณอ้างอิงมันคืองานวิจัยปี2010ชื่อหัวข้อว่า Red Wine Consumption Not Associated With Reduced
Risk of Colorectal Cancerซึ่งเค้าสรุปออกมาได้ว่าการกินred wineไม่ช่วยลดriskของการเกิดCRC (อันเดียวกับอันที่3)ส่วนประโยคที่คุณตัดมาน่าจะมาจากarticle6มากกว่า
8.อันนี้ไม่มีประโยคไหนเลยที่บอกว่าred wineลดCRCได้ บอกแค่มีantioxidantเยอะ สรุปคือที่เขียนมายืดยาวไม่ได้เกี่ยวอะไรกับที่เราพูดอยู่เลย

คือreferenceคุณเยอะแล้วก็ยาวดีนะครับ คนส่วนใหญ่คงขี้เกียจอ่าน แต่ถ้าอ่านดูก็จะรู้สึกว่ามันไม่ค่อยเกี่ยวกับเรื่องที่พูดกันอยู่ซะส่วนใหญ่ แค่ยืดยาวเฉยๆ

และหลายๆงานวิจัยก็สรุปออกมาได้แค่ ไวน์"อาจจะ"เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งลำไส้น้อยกว่าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ชนิดอื่นๆ ไม่ได้แปลว่าดื่มแล้วดีแค่"อาจจะ"ไม่แย่ เพราะฉะนั้นก็ไม่ควรจะไปแนะนำคนเป็นมะเร็งลำไส้ว่าให้ไปดื่มไวน์ หวังว่าคงเข้าใจนะครับ

ออฟไลน์ nobody123

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 140
Re: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด
« ตอบกลับ #38 เมื่อ: ตุลาคม 05, 2023, 19:38:00 »
ดีมากครับคุณ Shando ที่กันไว้
ยิ่งคนไม่เคยดื่ม ไม่ควรดื่มเพื่อประโยชน์นะครับ
เพราะจะเป็นโทษ ดังคุณ Shando ระบุ

ส่วนการที่คุณ Shando ปฏิเสธหลายเอกสาร ที่บอกว่า ดื่มแล้วดี แบบตัดทิ้งเลย
อันนี้ คงไม่ถูกครับ ต้องมองข้อมูลโดยรวม เขาว่าดีก็ว่าดี ไม่ใช่อะไรไม่ถูกใจก็ปัดทิ้ง
ผมรวบรวมมา หลายเอกสาร ที่คุณตัดทิ้ง ตัดทิ้งแม้แบบสอบถามคน 600 คน หรือ การสำรวจคน 1x,xxx คน
อย่างข้อสุดท้าย ไม่ตลกครับ เรื่องดี ๆ และ จริงจังทั้งนั้น มีลิงค์ไปเอกสารการแพทย์เป็นระยะเลย

ลองอ่านการรอดชีวิตของเหล่าผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ระยะสามนี้ดูครับ ตรงกับคุณพ่อเซลส์ Cortina watch เซนทรัลลาดพร้าวเลย

'However, when considering alcohol type, ever consumers of red wine (n=628) had significantly better outcomes than never consumers (HRDFS=0.80, HRTTR=0.81, HROS=0.78, p-values=0.01 to 0.02). Favorable outcomes were confirmed in patients who consumed 1–30 glasses/month of red wine (n=601, HR=0.80 to 0.83, p-values=0.03 to 0.049); there was a suggestion of more favorable outcomes in patients who consumed >30 glasses/month of red wine (n=27, HR=0.33 to 0.38, p-values=0.05 to 0.06). Beer and liquor consumption were not associated with outcomes. Although alcohol consumption was not associated with colon cancer outcomes overall, mild to moderate red wine consumption was suggestively associated with longer OS, DFS, and TTR in stage III colon cancer patients.'
[https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4911257/]

เหมือนคุณรักษาศีลข้อนี้ดี ก็รักษาต่อไป นะครับ
แต่อย่าปฏิเสธของที่คุณเองก็ไม่รู้จริง / ปัดตกทั้งที่มีการศึกษา เลยครับ

กลับมาเรื่องรถ
ยิ่งหากใช้ EF คำนวณ GHG (ค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจก) ของการใช้ไฟฟ้า 598.6 gCO2/kWh
รถ (B)EV ไม่ใช่รถเด่นในไทย ในการวิ่งข้ามจังหวัดความเร็วปริ่ม ๆ กฎหมายกำหนด ด้วยไฟฟ้า ครับ
รถมอเตอร์คู่ทีมงานผม ขับข้ามจังหวัด กลายเป็นทะลุ 150 ก./กม.ได้
ปล่อยมากกว่าการขับด้วยน้ำมันของรถขนาดเล็ก-กลาง เครื่องดี ๆ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ตุลาคม 05, 2023, 21:47:17 โดย nobody123 »

ออฟไลน์ shando

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,866
Re: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด
« ตอบกลับ #39 เมื่อ: ตุลาคม 06, 2023, 10:40:21 »
ดีมากครับคุณ Shando ที่กันไว้
ยิ่งคนไม่เคยดื่ม ไม่ควรดื่มเพื่อประโยชน์นะครับ
เพราะจะเป็นโทษ ดังคุณ Shando ระบุ

ส่วนการที่คุณ Shando ปฏิเสธหลายเอกสาร ที่บอกว่า ดื่มแล้วดี แบบตัดทิ้งเลย
อันนี้ คงไม่ถูกครับ ต้องมองข้อมูลโดยรวม เขาว่าดีก็ว่าดี ไม่ใช่อะไรไม่ถูกใจก็ปัดทิ้ง
ผมรวบรวมมา หลายเอกสาร ที่คุณตัดทิ้ง ตัดทิ้งแม้แบบสอบถามคน 600 คน หรือ การสำรวจคน 1x,xxx คน
อย่างข้อสุดท้าย ไม่ตลกครับ เรื่องดี ๆ และ จริงจังทั้งนั้น มีลิงค์ไปเอกสารการแพทย์เป็นระยะเลย

ลองอ่านการรอดชีวิตของเหล่าผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ระยะสามนี้ดูครับ ตรงกับคุณพ่อเซลส์ Cortina watch เซนทรัลลาดพร้าวเลย

'However, when considering alcohol type, ever consumers of red wine (n=628) had significantly better outcomes than never consumers (HRDFS=0.80, HRTTR=0.81, HROS=0.78, p-values=0.01 to 0.02). Favorable outcomes were confirmed in patients who consumed 1–30 glasses/month of red wine (n=601, HR=0.80 to 0.83, p-values=0.03 to 0.049); there was a suggestion of more favorable outcomes in patients who consumed >30 glasses/month of red wine (n=27, HR=0.33 to 0.38, p-values=0.05 to 0.06). Beer and liquor consumption were not associated with outcomes. Although alcohol consumption was not associated with colon cancer outcomes overall, mild to moderate red wine consumption was suggestively associated with longer OS, DFS, and TTR in stage III colon cancer patients.'
[https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4911257/]

เหมือนคุณรักษาศีลข้อนี้ดี ก็รักษาต่อไป นะครับ
แต่อย่าปฏิเสธของที่คุณเองก็ไม่รู้จริง / ปัดตกทั้งที่มีการศึกษา เลยครับ

กลับมาเรื่องรถ
ยิ่งหากใช้ EF คำนวณ GHG (ค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจก) ของการใช้ไฟฟ้า 598.6 gCO2/kWh
รถ (B)EV ไม่ใช่รถเด่นในไทย ในการวิ่งข้ามจังหวัดความเร็วปริ่ม ๆ กฎหมายกำหนด ด้วยไฟฟ้า ครับ
รถมอเตอร์คู่ทีมงานผม ขับข้ามจังหวัด กลายเป็นทะลุ 150 ก./กม.ได้
ปล่อยมากกว่าการขับด้วยน้ำมันของรถขนาดเล็ก-กลาง เครื่องดี ๆ

ไม่เกี่ยวกับเรื่องถูกใจไม่ถูกใจครับ มันเป็นเรื่องของpaper appraisal เพื่อดูว่าเปเปอร์ที่นำมาอ้างอิงนั้นน่าเชื่อถือหรือไม่ ยิ่งถ้าจะเอามาสนับสนุนrecommendationด้วยแล้ว

recommendationของคุณคือผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ให้ดื่มไวน์แดง แบ่งดื่มอย่างต่ำสามครั้ง สัปดาห์ไม่เกินขวด ก็ต้องมาดูว่าreferenceคุณอันไหนสนับสนุนบ้างว่าการดื่มแบบนี้มันดีต่อผู้ป่วยมะเร็ง ซึ่งส่วนใหญ่มันไม่เกี่ยว

paperอันที่เกี่ยวก็ต้องมาดูว่ามันน่าเชื่อถือขนาดไหน ซึ่งผมก็ได้อธิบายไปแล้วว่ามันไม่น่าเชื่อถือเพราะอะไร(แค่ขนาดตัวอย่างประชากรเยอะไม่ได้บอกได้ว่าเปเปอร์น่าเชื่อถือ) คุณลองไปsearchเรื่อง paper appraisal

ดูก็ได้ว่ามันหมายถึงอะไรและมันทำอย่างไร อีกอันก็คือเรื่องevidence base medicineครับ จะได้รู้ว่าการศึกษาแต่ละแบบนี่ระดับความน่าเชื่อถือเป็นอย่างไร

ผมว่าผมคงพอแค่นี้แหละครับ เพราะแต่ละข้อที่ผมแย้งไปนี่ผมต้องมานั่งตามอ่านfull paperแต่ละอันที่คุณเอามาแล้ว แต่ละอันก็ใช้เวลาพอสมควรเลย ไม่ใช้googleผ่านๆอ่านabtractแล้วก้อปมาวาง

ดังนั้นคุณอยากจะดื่มอะไรก็ดื่มไปครับตามสบาย แต่ฝากข้อคิดนิดนึงครับว่าคติที่สำคัญที่สุดที่หมอทุกคนต้องรู้คือ First, do no harm ดังนั้นอะไรอาจที่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยไม่ควรทำครับ

ออฟไลน์ nobody123

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 140
Re: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด
« ตอบกลับ #40 เมื่อ: ตุลาคม 06, 2023, 12:10:13 »
ก็จริงครับ และ คุณพอแค่นี้ ก็ดีครับ
เพราะผมเข้าไปหลายลิงค์เพจที่คุณบอกว่า 'ตลก'
นี่แสดงว่า คุณไม่ได้ดูในลิงค์การแพทย์เหล่านั้น ใช่ไหมครับ
การมีโอกาสรอดชีวิตมากขึ้น ตลกตรงไหน? คนประเภทไหนถึงเรียกเรื่องนี้ว่า 'ตลก'
ผลการศึกษา ข้อก่อนหน้าที่ผมเขียน มันก็ชัดอยู่ คุณไม่อ่านเข้าไปละเอียด เพราะกลัวเจอว่า มันดีจริง ใช่ไหมครับ
หรือ คุณเข้าไปอ่านแล้ว พบว่า มันดีเหลือเกิน แย้งกับสิ่งที่ตนเองพิมพ์มาตลอด เลยบอกว่า พอแค่นี้ ดีกว่า ใช่ไหมครับ
ผมไม่ได้อ่านแค่ Abstract ครับ ผมอ่านยัน Conclusion ด้วย สรุปยืนยัน Abstract ครับ แต่ก็อป Abstract ก็ชัด เพราะคำว่า 'However' มันช่วยกันคนเข้าใจผิด และ Conclusion มันยาวมากและขยายความลึกครับ
แค่นี้ คุณก็เดาทางคนอื่นผิด และ แนะนำคนอื่นเกือบผิด

ขอให้ผู้สนใจ โดยเฉพาะผู้มีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งลำไส้ หรือผู้ป่วยปัจจุบัน อ่าน Conclusion แล้วตัดสินใจเองได้ครับ
มีทั้งบอกว่าไวน์แดงไม่ส่งผล และ ส่งผลดี ส่วนแอลกอฮอล์อื่น ไม่ส่งผล หรือ ส่งผลไม่ดี (ซึ่งก็เป็นธีมที่ผมพิมพ์มาตลอด)
[https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4911257/]

กลับมาเรื่องรถนะครับ
ดังนั้น หากผมเทียบรถสองคันที่มี และคันที่อยากได้ จะได้ไม่ขิง
ICE 0-100 10.x วิ ผมวิ่งในเมือง ปล่อย CO2 ประมาณเครื่อง V8 เฉลี่ยยี่ห้อนึง (แต่ V8 มาวิ่งในเมือง ก็เสร็จอยู่ดี)
PHEV 0-100 4.x วิ ผมวิ่งที่ใดก็ตาม ไกลขนาดไหนก็ตาม ถ้าไม่ใช่อย่างถนนสุขุมวิทวันศุกร์สิ้นเดือน ปล่อย CO2 เกือบ 100-140 ก./กม.
เป็นอันสรุปหัวข้อโพสต์นี้ จริง ครับ

ปล. สุขุมวิท ตอนวิ่งได้ความเร็วแค่ 3 กม./ชม. คันไหนก็ไม่รอด ครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ตุลาคม 06, 2023, 12:30:18 โดย nobody123 »

ออฟไลน์ solo

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 526
    • อีเมล์
Re: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด
« ตอบกลับ #41 เมื่อ: ตุลาคม 06, 2023, 13:54:32 »
ขอสอบถามอย่างคนไม่รู้นะครับ คนที่ถูกตัดลำไส้หรือบางส่วนของกระเพาะอาหาร ระบบการย่อยเขาย่อมไม่สมบูรณ์ เป็นไปได้หรือเปล่าว่า อาหารหลายชนิดที่เราถือว่าค่อนข้าง”เป็นพิษ” ไม่แนะนำให้คนทั่วไปกิน แต่มันอาจจะมีกรดหรือด่างบางชนิดช่วยชดเชยการย่อยอาหารที่สูญเสียไป บรรดาสมาคมผู้ผลิตอาหารต่างๆถึงได้ Funding ให้นักวิจัยต่างๆหาResearch มาสนับสนุนว่าอาหารของตัวเองดียังโง้นยังงี้ ซึ่ง Research พวกนี้มันไม่เข้ามาตรฐานที่แพทย์จะแนะนำให้คนไข้กิน

ออฟไลน์ nobody123

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 140
Re: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด
« ตอบกลับ #42 เมื่อ: ตุลาคม 07, 2023, 15:14:50 »
ก็เป็นไปได้นะครับ
แต่มันหลายการศึกษามาก เอกชนคงไม่สามารถไปจ้างคนหลายประเทศ ให้วิจัยออกมาค่อนข้างสอดคล้องกัน
หรือ มีอิทธิพล ไปเปลี่ยนข้อมูลจากโรงพยาบาล หลายแห่ง ครับ

กลับมาเรื่องรถต่อ
นี่ครับ ข้อมูล BEV ในจีน ตอนกริดเขาพอ ๆ กับกริดไทย
เจ้าคู่แข่ง ก็ย่อมอิงตัวเลขคู่แข่งไปทางปล่อยมลพิษมาก หรือไม่ ลองพิจารณาดูครับ
แต่เขาใช้ข้อมูลส่วนกลางของประเทศ (China Automotive Life Cycle Assessment Model)
ซึ่งประเทศนี้แหละแหล่งผลิต BEV
'BEV เจ้าดังที่แรง ปล่อย CO2e มากกว่า ICE โดยเฉลี่ย เพราะใช้ไฟฟ้าเยอะ'
(ถ้าไม่อยากรู้ว่าเจ้าไหน อย่าคลิกเข้าไปดูให้รู้สึก 'ขิง' เลยครับ ผมเขียนให้ ไม่มั่วหรอก)
https://www.e3s-conferences.org/articles/e3sconf/pdf/2019/62/e3sconf_icbte2019_01009.pdf?fbclid=IwAR13XvRjw29hImt2P_QzSmxqbeo1FsoK2HeXXcGjzXXSR2aX1XtetyXlNYk

กริดอย่างจีนตอนนั้น
[https://www.statista.com/statistics/1300419/power-generation-emission-intensity-china/#:~:text=The%20carbon%20intensity%20of%20electricity,two%20decades%2C%20it%20remains%20high.]
พอ ๆ กับไทยตอนนี้ตามตัวเลขล่าสุดด้านบนเชิงไปด้านปล่อยเยอะ

กริดไทย ไม่ว่าแหล่งข้อมูลไหน ปล่อย CO2 / kWh ต่างกับ อย่าง สวีเดน ประมาณ สิบเท่าตัว ครับ

ส่วนอนาคต ที่เทคโนโลยีแบตจะดีขึ้น + กริดเราสะอาดขึ้น
BEV ก็น่าจะเป็น ที่หนึ่ง ของของดี เชิงสิ่งแวดล้อม ครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ตุลาคม 07, 2023, 15:45:28 โดย nobody123 »

ออฟไลน์ kiwiwi

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,867
Re: PHEV คือรถรักษ์โลก ที่สุด
« ตอบกลับ #43 เมื่อ: ตุลาคม 07, 2023, 15:23:06 »
ขอสอบถามอย่างคนไม่รู้นะครับ คนที่ถูกตัดลำไส้หรือบางส่วนของกระเพาะอาหาร ระบบการย่อยเขาย่อมไม่สมบูรณ์ เป็นไปได้หรือเปล่าว่า อาหารหลายชนิดที่เราถือว่าค่อนข้าง”เป็นพิษ” ไม่แนะนำให้คนทั่วไปกิน แต่มันอาจจะมีกรดหรือด่างบางชนิดช่วยชดเชยการย่อยอาหารที่สูญเสียไป บรรดาสมาคมผู้ผลิตอาหารต่างๆถึงได้ Funding ให้นักวิจัยต่างๆหาResearch มาสนับสนุนว่าอาหารของตัวเองดียังโง้นยังงี้ ซึ่ง Research พวกนี้มันไม่เข้ามาตรฐานที่แพทย์จะแนะนำให้คนไข้กิน

เท่าที่ปรึกษาหมอ หมอก็บอกว่าสามารถทานได้ปกตินะครับ
แต่อย่างว่าของผมโดนไป 4-5 เซ็น ถือว่าไม่เยอะ

แต่ถ้าหายไปเยอะๆ เรื่องทานไม่แน่ใจครับ

แต่การดูดซึม เป็นปัญหามาก
ผมใช้ชีวิตอยู่กับลำไส้เล็กมา 5 เดือน ทานเท่าไหร่ นน.ก็ไม่ขึ้นเลยครับ