ผู้เขียน หัวข้อ: เกี่ยวกับ เอทานอล  (อ่าน 5973 ครั้ง)

ออฟไลน์ liquidize

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 13
    • อีเมล์
เกี่ยวกับ เอทานอล
« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2015, 09:31:10 »
ผมสงสัยว่า เราสามารถหาซื้อได้ทั่วไปโดยนำเอทานอลมาผสมกับ เบนซิลได้หรือไม่ครับ

เพราะเคยเห็นกระทู้ที่ผ่านมาว่า e85มีค่าออกเทนมากกว่าน้ำมันชนิดอื่นที่ขายอยู่ในปัจจุบัน เช่น e10 e20ยังคงไว้ที่ 95โดยประมาณ , แน่นอนว่าe85ให้ค่าพลังงานน้อยกว่าแต่ออกเทนมากกว่า  ไม่สนใจเรื่องราคาไม่สนใจผลกระทบ สนใจแค่ว่าปรับแต่งเชื้อเพลิงยังไงทำให้เครื่องได้กำลังมาเร็วที่สุด  จากข้อมูลที่หาได้ระบุว่า ใช้ออกเทน 87ผสม แต่ถ้าผมซื้อเบนซิลเพียวจากปั้มที่แต่งจนได้ออกเทน 95แล้ว แล้วเติมผสมเอทานอลเข้าไปละครับ ผลลัพท์จะเป็นยังไง

ออฟไลน์ balliblue

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,384
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2015, 11:38:46 »
ผมสงสัยว่า เราสามารถหาซื้อได้ทั่วไปโดยนำเอทานอลมาผสมกับ เบนซิลได้หรือไม่ครับ

เพราะเคยเห็นกระทู้ที่ผ่านมาว่า e85มีค่าออกเทนมากกว่าน้ำมันชนิดอื่นที่ขายอยู่ในปัจจุบัน เช่น e10 e20ยังคงไว้ที่ 95โดยประมาณ , แน่นอนว่าe85ให้ค่าพลังงานน้อยกว่าแต่ออกเทนมากกว่า  ไม่สนใจเรื่องราคาไม่สนใจผลกระทบ สนใจแค่ว่าปรับแต่งเชื้อเพลิงยังไงทำให้เครื่องได้กำลังมาเร็วที่สุด  จากข้อมูลที่หาได้ระบุว่า ใช้ออกเทน 87ผสม แต่ถ้าผมซื้อเบนซิลเพียวจากปั้มที่แต่งจนได้ออกเทน 95แล้ว แล้วเติมผสมเอทานอลเข้าไปละครับ ผลลัพท์จะเป็นยังไง
อันนี้ไม่รู้นะครับ แต่ ethanol ที่ขายโดยทั่วไปมันจะมีน้ำผสมอยู่ 1-5% ซึ่งจะมีผลต่อเครื่องยนต์แน่นอน ซึ่งคิดว่าการทำน้ำมัน gasoholนั้นน่าจะต้องมีกระบวนการกำจัดน้ำพวกนี้ออกไปจนหมด

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,418
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2015, 11:45:20 »
อ่อ ผมเข้าใจว่า ออกเทน มันไม่เกี่ยวกับแรงไม่แรง

เอทานอล 100 % ราคาแพง ไม่ได้มีขายทั่วไป ส่วนใหญ่เป็น ใช้้้งาน ทางวิทยาศาตร์ เป็น สารเคมี ในอุตสหกรรม

บ้านเราก็ปั่นราคา เอทานอล ที่เอามาผสมกับน้ำมัน ขึ้นมา สูงๆๆๆๆๆๆๆ กว่า ตลาดโลดมากมาย

มีผลวิจัย ว่า E100 สามารถใช้งานกับ จักรนานยนต์ได้ หากออกแบบอุปกรณ์ให้ทนกับ เอทานอล
และประสิทธิภาพ ดีกว่า น้ำมันเบนซิน

สามารถเอา เอทานอลมาผสมกับ เบนซินลองได้เลย แต่ต้อง กวนๆๆ ให้เข้ากันด้วยนะ
ต้องเป็นแบบ 99 % นะ

http://www.rsu.ac.th/engineer/AE/academic%20present/Study%20E100_RON91.html

ส่วนนี่ที่ ขายครับ

http://www.solvent-sscv.com/ethanol.html

ออฟไลน์ Alcatraz

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 3,604
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2015, 13:30:50 »
อ่อ ผมเข้าใจว่า ออกเทน มันไม่เกี่ยวกับแรงไม่แรง




ถ้าไม่เกี่ยวกันช่วยอธิบายหน่อย ว่าทำไมรถคันเดียวกันใช้น้ำมัน e10 95 เทียบกับ e85 ทำไมแรงม้า e85 ถึงมากกว่าจากผลไดโน่

ออฟไลน์ I-PULSE

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 977
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2015, 13:41:46 »
มีขายครับ99.9%ใช้ในงานวิทยาศาตร์หรืองานเคมี ราคาลิตรละ90บาทครับ

ออฟไลน์ kez

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2,586
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #5 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2015, 13:47:53 »

 เพราะตัว ethanol  มี oxygen ในตัว

 หนึ่ง cycle ยิงน้ำมัน oxygen เหลือ ต้องยิงน้ำมันเพิ่ม  ทำให้ได้น้ำมันต่อ หนึ่ง cycle

 มากกว่า e น้อย

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,418
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #6 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2015, 15:38:25 »
อ่อ ผมเข้าใจว่า ออกเทน มันไม่เกี่ยวกับแรงไม่แรง




ถ้าไม่เกี่ยวกันช่วยอธิบายหน่อย ว่าทำไมรถคันเดียวกันใช้น้ำมัน e10 95 เทียบกับ e85 ทำไมแรงม้า e85 ถึงมากกว่าจากผลไดโน่


มีคนตอบให้แล้วนะครับข้างบน
ประสิทธิภาพของมัน ดีกว่า เบนซินแน่นอนครับ
แต่ไม่ใช่ มองที่ค่า อ๊อกเทน อย่างเดียว

ที่ผมรู้อีกอย่าง ความร้นตอนจุดระเบิด มันน้อยกว่า ถนอมเครื่องมากกว่า

ออฟไลน์ Alcatraz

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 3,604
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #7 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2015, 16:16:04 »

 เพราะตัว ethanol  มี oxygen ในตัว

 หนึ่ง cycle ยิงน้ำมัน oxygen เหลือ ต้องยิงน้ำมันเพิ่ม  ทำให้ได้น้ำมันต่อ หนึ่ง cycle

 มากกว่า e น้อย

ง่ายๆก็คือ น้ำมันจุดระเบิดไม่พอ ต้องจ่ายเพิ่ม ทำให้แรงขึ้น และก็เป็นสาเหตุที่อัตตราสิ้นเปลืองมาก

ทีนี้ผมสงสัยคำว่าจ่ายน้ำมันหนา บางทีมันทำให้แรงม้าน้อยลงด้วยซ้ำ ทั้งๆที่ถ้าตามทรษฏีข้างบนคือ จ่ายมากขึ้น แรงมากขึ้น เป็นเพราะส่วนผสมไม่ลงตัวใช่มั้ยครับ
คือจ่ายมากขึ้น ก็แรงขึ้น แต่มากไปจุดระเบิดไม่ทัน หรือฉีดไม่ออก แรงก็ตก อย่างนี้ถูกไหม

อ่อ ผมเข้าใจว่า ออกเทน มันไม่เกี่ยวกับแรงไม่แรง




ถ้าไม่เกี่ยวกันช่วยอธิบายหน่อย ว่าทำไมรถคันเดียวกันใช้น้ำมัน e10 95 เทียบกับ e85 ทำไมแรงม้า e85 ถึงมากกว่าจากผลไดโน่


มีคนตอบให้แล้วนะครับข้างบน
ประสิทธิภาพของมัน ดีกว่า เบนซินแน่นอนครับ
แต่ไม่ใช่ มองที่ค่า อ๊อกเทน อย่างเดียว

ที่ผมรู้อีกอย่าง ความร้นตอนจุดระเบิด มันน้อยกว่า ถนอมเครื่องมากกว่า



อันนี้จากประสบการ์ณรถผมเองนะครับ เวลาใช้ e85 ผมลองเอามือจับแถวๆอุโมงเกียร์ซึ่งมันใกล้กับท่อแคต ปรากฏว่า e85 ร้อนกว่า e20 ค่อนข้างชัดเจน

เมื่อก่อนผมก็เข้าใจว่า e85 เย็นกว่า ถนอมเครื่องมากกว่า แต่จากที่ผมเจอ ผมเดาเอาว่า เพราะ เครื่องต้องจ่าย e85 แยอะกว่า e ที่น้อยกว่า ทำให้เครื่องรับภาระการจุดระเบิดมากกว่า ทำให้มันไม่ได้เย็นกว่าน้ำมันตัวอื่น เผลอๆร้อนกว่าด้วย

ผมไม่แน่ใจว่ารถรุ่นอื่นที่รองรับ e85 เกิดเหตุการ์ณแบบนี้ไหม เพราะรถผมก็ไม่ได้รองรับแต่ไปจูน และเปลี่ยนระบบเดินอากาศใหม่แต่ยังมีแคตอยู่ เรื่องนี้อาจเกิดจากการจูนก็ได้ ยังไงลองแชร์กันดูครับ

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,418
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #8 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2015, 17:29:00 »

 เพราะตัว ethanol  มี oxygen ในตัว

 หนึ่ง cycle ยิงน้ำมัน oxygen เหลือ ต้องยิงน้ำมันเพิ่ม  ทำให้ได้น้ำมันต่อ หนึ่ง cycle

 มากกว่า e น้อย

ง่ายๆก็คือ น้ำมันจุดระเบิดไม่พอ ต้องจ่ายเพิ่ม ทำให้แรงขึ้น และก็เป็นสาเหตุที่อัตตราสิ้นเปลืองมาก

ทีนี้ผมสงสัยคำว่าจ่ายน้ำมันหนา บางทีมันทำให้แรงม้าน้อยลงด้วยซ้ำ ทั้งๆที่ถ้าตามทรษฏีข้างบนคือ จ่ายมากขึ้น แรงมากขึ้น เป็นเพราะส่วนผสมไม่ลงตัวใช่มั้ยครับ
คือจ่ายมากขึ้น ก็แรงขึ้น แต่มากไปจุดระเบิดไม่ทัน หรือฉีดไม่ออก แรงก็ตก อย่างนี้ถูกไหม

อ่อ ผมเข้าใจว่า ออกเทน มันไม่เกี่ยวกับแรงไม่แรง




ถ้าไม่เกี่ยวกันช่วยอธิบายหน่อย ว่าทำไมรถคันเดียวกันใช้น้ำมัน e10 95 เทียบกับ e85 ทำไมแรงม้า e85 ถึงมากกว่าจากผลไดโน่


มีคนตอบให้แล้วนะครับข้างบน
ประสิทธิภาพของมัน ดีกว่า เบนซินแน่นอนครับ
แต่ไม่ใช่ มองที่ค่า อ๊อกเทน อย่างเดียว

ที่ผมรู้อีกอย่าง ความร้นตอนจุดระเบิด มันน้อยกว่า ถนอมเครื่องมากกว่า



อันนี้จากประสบการ์ณรถผมเองนะครับ เวลาใช้ e85 ผมลองเอามือจับแถวๆอุโมงเกียร์ซึ่งมันใกล้กับท่อแคต ปรากฏว่า e85 ร้อนกว่า e20 ค่อนข้างชัดเจน

เมื่อก่อนผมก็เข้าใจว่า e85 เย็นกว่า ถนอมเครื่องมากกว่า แต่จากที่ผมเจอ ผมเดาเอาว่า เพราะ เครื่องต้องจ่าย e85 แยอะกว่า e ที่น้อยกว่า ทำให้เครื่องรับภาระการจุดระเบิดมากกว่า ทำให้มันไม่ได้เย็นกว่าน้ำมันตัวอื่น เผลอๆร้อนกว่าด้วย

ผมไม่แน่ใจว่ารถรุ่นอื่นที่รองรับ e85 เกิดเหตุการ์ณแบบนี้ไหม เพราะรถผมก็ไม่ได้รองรับแต่ไปจูน และเปลี่ยนระบบเดินอากาศใหม่แต่ยังมีแคตอยู่ เรื่องนี้อาจเกิดจากการจูนก็ได้ ยังไงลองแชร์กันดูครับ

อันนี้ผมก็ไม่รู้นะครับ
เพราะผมอ้างอิงบทความ วิชาการ จากรัฐบาล ต่างประเทศ
http://www1.eere.energy.gov/vehiclesandfuels/pdfs/basics/jtb_ethanol.pdf

เค้าบอกว่าอุณภูมิเผาไหม้เย็นกว่าเบนซิน นิดหน่อย

และ เอทานอล สูตรทางเคมี มันกว่าไงครับ
มันมี เอ็กซิเจนในตัวใช่ไหม นั่นแปลว่า มันเผาไหม้ได้ สมบูรณ์กว่านั่นเอง
จึงทำให้ประสิทธิภาพมันมากกว่า

โดยส่วนตัว ผมไม่เชื่อถือการจูนรถ ใช้ E85 จากช่างทั่ว ๆไป ว่ามันจะสมบูรณ์เท่ากับ รถ FFV จากโรงงาน ที่เค้าลงทุน วิจัยคิดค้น อัตราส่วนการผสม และ ทดสอบมาแล้ว
เราจะเห็นว่า จูนกันพังก็หลายคันแล้ว
แล้วก๋ไม่เคยวัดความร้อนโดยการเอามือแตะ เพราะ ความรู้สึกมันไม่มีตัวเลขบอกได้

ออฟไลน์ Ji.Cl.

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 677
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #9 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 12, 2015, 21:04:21 »
เท่าที่ผมทราบ เชื้อเพลิงเอทานอล.......



-ต้องฉีดเชื้อเพลิงมากกว่า เพราะสูตรทางเคมีไม่เหมือนกัน ส่วนผสมที่ลงตัวของอากาศกับน้ำมันของเอทานอลคือ 9:1 ในขณะที่ของเบนซิน 14.7:1

 ดังนั้นจึงต้องฉีดเพิ่มเพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานได้ ส่วนผสม 14.7 ถือว่าพอดีสำหรับเบนซิน แต่ถือว่า "บาง" สำหรับเอทานอล



-แต่ไม่ได้แรงเพราะฉีดเชื้อเพลิงมากกว่าเลย เพราะด้วยปริมาณน้ำมันที่เท่ากัน เอทานอลเผาแล้วให้พลังงานน้อยกว่าเบนซิน

 แต่เพราะเราฉีดปริมาณเชื้อเพลิงมากกว่าอยู่แล้ว ก็เลยชดเชยกันไป (แต่ดูเหมือนจะมีคนเคยคำนวณว่าตรงจุดนี้ E85 ก็ได้เปรียบนิดๆ แล้ว)



-การที่เราฉีดเชื้อเพลิงมากกว่า การระเหยของเชื้อเพลิงที่หน้าวาล์วไอดีจะดูดความร้อนมากกว่า ทำให้อากาศในท่อร่วมไอดีเย็นมากกว่า

 ความหนาแน่นอากาศมากกว่า มวลไอดีก็เข้าห้องเผาไหม้ได้มากกว่า เครื่องยนต์จึงแรงกว่า (นี่ล่ะผมว่าประเด็น)



-แต่อากาศที่เย็นกว่าจะไม่มีประโยชน์เลย ถ้าไม่ได้ผ่านการตั้งไฟจุดระเบิดให้แก่ขึ้น เพราะการลามของเปลวไฟของเอทานอลวิ่งช้ากว่าเบนซิน ถ้าจุดระเบิดในจังหวะเดิม

 อาจจะเผาช้า ไม่ทันได้ใช้ประโยชน์จากพลังงานได้เต็มที่ ก็ถึงจังหวะวาล์วไอเสียเปิดซะก่อน ซึ่งอาจทำให้ไอเสียออกมาร้อนขึ้น

 หรือถ้าไฟอ่อนมากๆก็อาจตดปุ้งปั้งออกท่อไอเสีย ดังนั้นหากเป็นรถเก่าระบบจานจ่ายก็ควรตั้งไฟจานจ่ายให้แก่ขึ้น หรือหากเป็นรุ่นคอยล์ตรงอิเล็กทรอนิกส์

 ส่วนตัวเชื่อว่ากล่องน่าจะฉลาดพอที่จะแก่ไฟขึ้นเองได้ ต่อให้เป็นคอยล์ตรงรุ่นเก่าๆ ก็ตาม (ตามความเข้าใจของผมนะครับ)



-แต่(อีกรอบ) อุณหภูมิการเผาไหม้ของ E85 อย่างไรก็น้อยกว่าครับ เพียงแต่บางครั้งไฟจุดระเบิดองศาอ่อนเกินไป

 แต่อุณหภูมิสูงสุดที่เกิดในระหว่างการเผาไหม้ เย็นกว่าเบนซินครับ ดังนั้น เรื่องฝาโก่ง เสื้อโก่ง ตอนฮีต เกิดยากกว่าเบนซิน



-ส่วนออกเทน มันเป็นแค่ค่าป้องกันการจุดระเบิดเองก่อนเวลาอันควรของส่วนผสม ออกเทนสูง เชื้อเพลิงไม่ชิงจุดระเบิดเอง เป็นผลดีกับเครื่อง แต่ไม่เกี่ยวกับแรง

 ตรงกันข้าม การที่ออกเทนต่ำ การชิงจุดระเบิดเองง่ายขึ้น ถ้าชิงจุดระเบิดถูกจังหวะอาจจะทำให้เครื่องแรงขึ้นก็ได้ครับ แต่ไม่ดีกับสุขภาพเครื่องในระยะยาว



ผมพูดตามความเข้าใจและความเห็นส่วนตัวล้วนๆ นะครับ หากต้องการแหล่งอ้างอิง โปรดบอกครับ ผมจะหามาให้ (ถ้าผมมี หรือหาได้นะ)

หรือท่านใดมีแนวคิดที่ต่างไปก็ขอให้ร่วมแชร์ครับ ยินดีรับฟัง ;D

ออฟไลน์ liquidize

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 13
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #10 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 13, 2015, 12:25:28 »
-ต้องฉีดเชื้อเพลิงมากกว่า เพราะสูตรทางเคมีไม่เหมือนกัน ส่วนผสมที่ลงตัวของอากาศกับน้ำมันของเอทานอลคือ 9:1 ในขณะที่ของเบนซิน 14.7:1

 ดังนั้นจึงต้องฉีดเพิ่มเพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานได้ ส่วนผสม 14.7 ถือว่าพอดีสำหรับเบนซิน แต่ถือว่า "บาง" สำหรับเอทานอล
=คุณเข้าใจถูกแค่ครึ่งเดียว ระบบไม่ได้ปรับให้ได้ส่วนผสม 14.7 oxygensensor มันอ่านเป็นค่าออกมาเป็นvoltมันไม่รู้หรอกอัตตราส่วนเท่าไหร่  แต่ๆมันจะบางก็ต่อเมื่อ 14.7:1คืออะไร คืออากาศต่อน้ำมัน อากาศ14.7น้ำมัน1 ,เอทานอลอากาศ 9น้ำมัน1ในสถานะของเหลวเหมือนกัน หมายความว่าถ้าน้ำมันระบบหัวฉีด เวลาในการฉีดเท่ากัน เบนซิลจะกินอากาศมากกว่า เอทานอลใช้น้อยกว่า แต่ทีนี้ใน1สูบ สมมุติว่า 500cc ไม่นับเทคโนโลยีวาวล์แปรผันหรืออื่นๆ อากาศเข้าไปเต็มพอดีเลย นี่คือที่มาทำไม ฉีดเท่ากันว่าบาง

-แต่ไม่ได้แรงเพราะฉีดเชื้อเพลิงมากกว่าเลย เพราะด้วยปริมาณน้ำมันที่เท่ากัน เอทานอลเผาแล้วให้พลังงานน้อยกว่าเบนซิน

 แต่เพราะเราฉีดปริมาณเชื้อเพลิงมากกว่าอยู่แล้ว ก็เลยชดเชยกันไป (แต่ดูเหมือนจะมีคนเคยคำนวณว่าตรงจุดนี้ E85 ก็ได้เปรียบนิดๆ แล้ว)
=ต่อ1หน่วยให้พลังงานน้อยกว่าจริง แต่เป็นเพราะเชื้อเพลิงเข้าไปเยอะขึ้น พลังงานที่ออกมาเยอะกว่าเบนซิลอีก

-การที่เราฉีดเชื้อเพลิงมากกว่า การระเหยของเชื้อเพลิงที่หน้าวาล์วไอดีจะดูดความร้อนมากกว่า ทำให้อากาศในท่อร่วมไอดีเย็นมากกว่า
 ความหนาแน่นอากาศมากกว่า มวลไอดีก็เข้าห้องเผาไหม้ได้มากกว่า เครื่องยนต์จึงแรงกว่า (นี่ล่ะผมว่าประเด็น)
=ข้อนี้ไม่ทราบว่ามีผลไหมถ้ามีไม่น่าเห็นผลต่างได้ชัด แต่ถ้าเป็นระบบdirectละส่วนนี้ก็ไม่มีผลแล้วสิ


-แต่อากาศที่เย็นกว่าจะไม่มีประโยชน์เลย ถ้าไม่ได้ผ่านการตั้งไฟจุดระเบิดให้แก่ขึ้น เพราะการลามของเปลวไฟของเอทานอลวิ่งช้ากว่าเบนซิน ถ้าจุดระเบิดในจังหวะเดิม

 อาจจะเผาช้า ไม่ทันได้ใช้ประโยชน์จากพลังงานได้เต็มที่ ก็ถึงจังหวะวาล์วไอเสียเปิดซะก่อน ซึ่งอาจทำให้ไอเสียออกมาร้อนขึ้น

 หรือถ้าไฟอ่อนมากๆก็อาจตดปุ้งปั้งออกท่อไอเสีย ดังนั้นหากเป็นรถเก่าระบบจานจ่ายก็ควรตั้งไฟจานจ่ายให้แก่ขึ้น หรือหากเป็นรุ่นคอยล์ตรงอิเล็กทรอนิกส์

 ส่วนตัวเชื่อว่ากล่องน่าจะฉลาดพอที่จะแก่ไฟขึ้นเองได้ ต่อให้เป็นคอยล์ตรงรุ่นเก่าๆ ก็ตาม (ตามความเข้าใจของผมนะครับ)
=ขอบอกแค่ว่ารถhondaบ้านๆเดิมที่ไม่รับe85 ปรับไฟจุด +-ได้แค่5 จากค่าเดิมเท่านั้นยกเว้นที่รอบเดินเบา ซึ่งยังไม่พอเพราะระยะเวลาลามของไฟนานขึ้นจากเชื้อเพลิงที่ต้องเผามากขึ้น

-แต่(อีกรอบ) อุณหภูมิการเผาไหม้ของ E85 อย่างไรก็น้อยกว่าครับ เพียงแต่บางครั้งไฟจุดระเบิดองศาอ่อนเกินไป
 แต่อุณหภูมิสูงสุดที่เกิดในระหว่างการเผาไหม้ เย็นกว่าเบนซินครับ ดังนั้น เรื่องฝาโก่ง เสื้อโก่ง ตอนฮีต เกิดยากกว่าเบนซิน
=ยังไม่ถูกหมดจริงอยู่อุณหภูมิเผาไหม้น้อยกว่าตอนใช้งานปรกติขับนิ่งๆเพื่อให้ประหยัดรถจะฉีดบาง แต่ถ้าคิดจากการเผาไหม้สมบูรณ์ในลูกสูบร้อนกว่า อย่า!งงว่าก็ให้ความร้อนน้อยกว่าหนิก็เย็นกว่าอยู่แล้วแต่ในลูกสูบมันไม่ได้ต้องการแค่1หน่วย  ตามที่คุณAlcatrazบอกขับเร่งแซงมากๆมันร้อนกว่าแน่เพราะการที่จะทำให้กำลังอัดสูงสุดไม่ใช่จุดเผาไหม้สมบูรณ์

-ส่วนออกเทน มันเป็นแค่ค่าป้องกันการจุดระเบิดเองก่อนเวลาอันควรของส่วนผสม ออกเทนสูง เชื้อเพลิงไม่ชิงจุดระเบิดเอง เป็นผลดีกับเครื่อง แต่ไม่เกี่ยวกับแรง

 ตรงกันข้าม การที่ออกเทนต่ำ การชิงจุดระเบิดเองง่ายขึ้น ถ้าชิงจุดระเบิดถูกจังหวะอาจจะทำให้เครื่องแรงขึ้นก็ได้ครับ แต่ไม่ดีกับสุขภาพเครื่องในระยะยาว
=ถูกต้องมันเป็นแค่ค่าป้องกันการจุดระเบิดเองก่อนเวลาอันควรของส่วนผสม มันถึงมีหัวเทียนคอยควบคุมการทำงานได้ แต่ๆออกเทนมีผลกับความเร็วรอบ ยิ่งความเร็วในการอัดมากเท่าไหร่มันก็ยิ่งอยากชิงจุดก่อนหมายความว่าที่รอบยิ่งสูง ถ้าชิงจุดระเบิดถูกจังหวะอาจจะทำให้เครื่องแรงขึ้นก็ได้ครับอันนนี้ก็ถูกอันนี้ต้องฟลุ๊กละหรือโชคดีลแล้วละ
 เพราะรอบยิ่งเร็วหัวเทียนมันชาตร์ไฟไม่ทันไฟอ่อนละถ้าชิงจุดได้พอดีได้จะดีมากเลย   นี่คือที่มาทำไมดีเซลไม่ต้องใช้หัวเทียน  มีใครเคยสงสัยไหมว่า ถ้าเครื่องเบนซิลใส่น้ำมันดีเซลหรือเครื่องดีเซลใส่น้ำมันเบนซิล จะเกิดอะไรขึ้นพังเหมือนกันไหม

ออฟไลน์ Ji.Cl.

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 677
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #11 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 13, 2015, 21:32:27 »
-ต้องฉีดเชื้อเพลิงมากกว่า เพราะสูตรทางเคมีไม่เหมือนกัน ส่วนผสมที่ลงตัวของอากาศกับน้ำมันของเอทานอลคือ 9:1 ในขณะที่ของเบนซิน 14.7:1

 ดังนั้นจึงต้องฉีดเพิ่มเพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานได้ ส่วนผสม 14.7 ถือว่าพอดีสำหรับเบนซิน แต่ถือว่า "บาง" สำหรับเอทานอล
=คุณเข้าใจถูกแค่ครึ่งเดียว ระบบไม่ได้ปรับให้ได้ส่วนผสม 14.7 oxygensensor มันอ่านเป็นค่าออกมาเป็นvoltมันไม่รู้หรอกอัตตราส่วนเท่าไหร่  แต่ๆมันจะบางก็ต่อเมื่อ 14.7:1คืออะไร คืออากาศต่อน้ำมัน อากาศ14.7น้ำมัน1 ,เอทานอลอากาศ 9น้ำมัน1ในสถานะของเหลวเหมือนกัน หมายความว่าถ้าน้ำมันระบบหัวฉีด เวลาในการฉีดเท่ากัน เบนซิลจะกินอากาศมากกว่า เอทานอลใช้น้อยกว่า แต่ทีนี้ใน1สูบ สมมุติว่า 500cc ไม่นับเทคโนโลยีวาวล์แปรผันหรืออื่นๆ อากาศเข้าไปเต็มพอดีเลย นี่คือที่มาทำไม ฉีดเท่ากันว่าบาง
ข้อนี้ผมยังอ่านดูแล้วก็ยังสงสัยว่ามีเนื้อหาจุดใดที่ท่านกับผมเข้าใจแตกต่างกัน สิ่งที่ผมพูดไปครั้งก่อนนั้น ไม่ได้กล่าวถึงระบบและวิธีการปรับอัตราส่วนของเครื่องยนต์ ไม่ได้กล่าวถึงแลมบ์ด้าเซนเซอร์
หากแต่กล่าวถึงความจำเป็นว่าหากจะใช้ ต้องหาวิธีปรับอัตราส่วนผสม และอัตราส่วนผสมของน้ำมันที่ผมพูดว่า 14.7 คือพอดีของเบนซิน แต่บางสำหรับเอทานอล
ก็เพราะเอทานอลกินอากาศน้อยกว่าไม่ใช่หรือครับ อาจเป็นที่ผมเขียนไม่เคลียร์เองครับผม

-แต่ไม่ได้แรงเพราะฉีดเชื้อเพลิงมากกว่าเลย เพราะด้วยปริมาณน้ำมันที่เท่ากัน เอทานอลเผาแล้วให้พลังงานน้อยกว่าเบนซิน

 แต่เพราะเราฉีดปริมาณเชื้อเพลิงมากกว่าอยู่แล้ว ก็เลยชดเชยกันไป (แต่ดูเหมือนจะมีคนเคยคำนวณว่าตรงจุดนี้ E85 ก็ได้เปรียบนิดๆ แล้ว)
=ต่อ1หน่วยให้พลังงานน้อยกว่าจริง แต่เป็นเพราะเชื้อเพลิงเข้าไปเยอะขึ้น พลังงานที่ออกมาเยอะกว่าเบนซิลอีก
ข้อนี้ผมได้วงเล็บท้ายประโยคของผมไว้แต่แรกแล้วนะครับ สามารถดูได้ในตัวอักษรสีเขียว หรือถ้าจะให้ลองคำนวณดูใหม่
สมมติมีอากาศ 14.7 กรัม จะต้องฉีดเบนซิน 1 กรัม จึงจะพอดี ซึ่งค่าความร้อน LHV ของเบนซินอยู่ที่ 43.448 kJ/g
จึงได้ว่า เบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ ต่ออากาศ 14.7 กรัม

แต่อากาศ 14.7 กรัมเท่ากัน ต้องฉีดเอทานอล 14.7/9 = 1.6333 กรัม ซึ่งค่าความร้อน LHV ของเอทานอลอยู่ที่ 26.952 kJ/g
จึงได้ว่า เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ ต่ออากาศ 14.7 กรัมเท่ากัน

http://cta.ornl.gov/bedb/appendix_a/Lower_and_Higher_Heating_Values_of_Gas_Liquid_and_Solid_Fuels.pdf

สรุปว่า ข้อนี้ท่านและผมเห็นตรงกันครับ คือถ้าสามารถใช้เอทานอลได้อย่างถูกต้อง รถจะแรงขึ้น

-การที่เราฉีดเชื้อเพลิงมากกว่า การระเหยของเชื้อเพลิงที่หน้าวาล์วไอดีจะดูดความร้อนมากกว่า ทำให้อากาศในท่อร่วมไอดีเย็นมากกว่า
 ความหนาแน่นอากาศมากกว่า มวลไอดีก็เข้าห้องเผาไหม้ได้มากกว่า เครื่องยนต์จึงแรงกว่า (นี่ล่ะผมว่าประเด็น)
=ข้อนี้ไม่ทราบว่ามีผลไหมถ้ามีไม่น่าเห็นผลต่างได้ชัด แต่ถ้าเป็นระบบdirectละส่วนนี้ก็ไม่มีผลแล้วสิ
http://papers.sae.org/2012-01-1275/

จากงานวิจัยต่างประเทศ ถึงจะไม่เกี่ยวข้องโดยตรง แต่มีเขียนใน Abstact ไว้ค่อนข้างชัดเจนว่า
เบนซินช่วยให้ไอดีเย็นลง 14 องศาเซลเซียส ในขณะที่ E85 ช่วยให้เย็นลง 49 องศาเซลเซียส ซึ่งสำหรับผม ส่วนต่าง 35 องศา มันต่างค่อนข้างชัดเจนครับ
เป็นอีกหนึ่งปัจจัยหนุนให้เครื่องแรงขึ้นนอกจากข้อก่อนหน้า
แต่เรื่องที่ว่าระบบ direct ผลตรงนี้จะหายไปนั้น ผมเห็นด้วยครับ ท่านพูดถูก

-แต่อากาศที่เย็นกว่าจะไม่มีประโยชน์เลย ถ้าไม่ได้ผ่านการตั้งไฟจุดระเบิดให้แก่ขึ้น เพราะการลามของเปลวไฟของเอทานอลวิ่งช้ากว่าเบนซิน ถ้าจุดระเบิดในจังหวะเดิม

 อาจจะเผาช้า ไม่ทันได้ใช้ประโยชน์จากพลังงานได้เต็มที่ ก็ถึงจังหวะวาล์วไอเสียเปิดซะก่อน ซึ่งอาจทำให้ไอเสียออกมาร้อนขึ้น

 หรือถ้าไฟอ่อนมากๆก็อาจตดปุ้งปั้งออกท่อไอเสีย ดังนั้นหากเป็นรถเก่าระบบจานจ่ายก็ควรตั้งไฟจานจ่ายให้แก่ขึ้น หรือหากเป็นรุ่นคอยล์ตรงอิเล็กทรอนิกส์

 ส่วนตัวเชื่อว่ากล่องน่าจะฉลาดพอที่จะแก่ไฟขึ้นเองได้ ต่อให้เป็นคอยล์ตรงรุ่นเก่าๆ ก็ตาม (ตามความเข้าใจของผมนะครับ)
=ขอบอกแค่ว่ารถhondaบ้านๆเดิมที่ไม่รับe85 ปรับไฟจุด +-ได้แค่5 จากค่าเดิมเท่านั้นยกเว้นที่รอบเดินเบา ซึ่งยังไม่พอเพราะระยะเวลาลามของไฟนานขึ้นจากเชื้อเพลิงที่ต้องเผามากขึ้น
ข้อนี้ผมยอมรับตรงๆ ว่าไม่ทราบครับ ถ้าเป็นเช่นนั้นจริง จะเป็นข้อเสียใหญ่พอสมควรเลยทีเดียว

-แต่(อีกรอบ) อุณหภูมิการเผาไหม้ของ E85 อย่างไรก็น้อยกว่าครับ เพียงแต่บางครั้งไฟจุดระเบิดองศาอ่อนเกินไป
 แต่อุณหภูมิสูงสุดที่เกิดในระหว่างการเผาไหม้ เย็นกว่าเบนซินครับ ดังนั้น เรื่องฝาโก่ง เสื้อโก่ง ตอนฮีต เกิดยากกว่าเบนซิน
=ยังไม่ถูกหมดจริงอยู่อุณหภูมิเผาไหม้น้อยกว่าตอนใช้งานปรกติขับนิ่งๆเพื่อให้ประหยัดรถจะฉีดบาง แต่ถ้าคิดจากการเผาไหม้สมบูรณ์ในลูกสูบร้อนกว่า อย่า!งงว่าก็ให้ความร้อนน้อยกว่าหนิก็เย็นกว่าอยู่แล้วแต่ในลูกสูบมันไม่ได้ต้องการแค่1หน่วย  ตามที่คุณAlcatrazบอกขับเร่งแซงมากๆมันร้อนกว่าแน่เพราะการที่จะทำให้กำลังอัดสูงสุดไม่ใช่จุดเผาไหม้สมบูรณ์
http://cta.ornl.gov/bedb/biofuels/ethanol/Fuel_Property_Comparison_for_Ethanol-Gasoline-No2Diesel.xls

ค่อนข้างไม่เห็นด้วย และงงอยูดีครับ ท่านกำลังเปรียบเทียบเชื้อเพลิงหนึ่งที่ฉีดบาง กับอีกเชื้อเพลิงหนึ่งที่ฉีดพอดีหรือเปล่า? สถานการณ์ที่เครื่องฉีดบาง จะเติมอะไร เครื่องก็ฉีดบาง

หากคิดที่การเผาไหม้สมบูรณ์ทั้งคู่ จริงอยู่ว่าเอทานอลให้พลังงานหนักกว่า แต่มวลของไอดีก็หนักกว่าเช่นกัน พลังงานจึงกระจายไปในมวลที่มากกว่า

ลองคิดหยาบๆ แบบไม่ละเอียดนะครับ ข้อมูลดึงจากข้อก่อนหน้ามานะครับ

"เบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ ต่ออากาศ 14.7 กรัม" + เชื้อเพลิง 1 กรัม จะได้ไอดีรวม 15.7 กรัม คิดเป็น 2.767 กิโลจูล ต่อไอดี 1 กรัม

"เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ ต่ออากาศ 14.7 กรัม" + เชื่อเพลิง 1.633 กรัม (รวมหน่วยเชื้อเพลิงเพิ่มแล้ว) จะได้ไอดี 16.3 กรัม คิดเป็น 2.695 กิโลจูล ต่อไอดี 1 กรัม

และยังไม่นับการที่ไอดีถูกทำให้เย็นลงมากกว่าด้วย ข้อนี้ผมอยากให้ท่านเสนอมากกว่านี้ ว่าจังหวะใด เงื่อนไขใด ที่เอทานอลจะร้อนกว่าเบนซิน

และร้อนกว่าได้อย่างไร เพราะผมอาจจะยังมองข้ามบางจุดไปครับ

-ส่วนออกเทน มันเป็นแค่ค่าป้องกันการจุดระเบิดเองก่อนเวลาอันควรของส่วนผสม ออกเทนสูง เชื้อเพลิงไม่ชิงจุดระเบิดเอง เป็นผลดีกับเครื่อง แต่ไม่เกี่ยวกับแรง

 ตรงกันข้าม การที่ออกเทนต่ำ การชิงจุดระเบิดเองง่ายขึ้น ถ้าชิงจุดระเบิดถูกจังหวะอาจจะทำให้เครื่องแรงขึ้นก็ได้ครับ แต่ไม่ดีกับสุขภาพเครื่องในระยะยาว
=ถูกต้องมันเป็นแค่ค่าป้องกันการจุดระเบิดเองก่อนเวลาอันควรของส่วนผสม มันถึงมีหัวเทียนคอยควบคุมการทำงานได้ แต่ๆออกเทนมีผลกับความเร็วรอบ ยิ่งความเร็วในการอัดมากเท่าไหร่มันก็ยิ่งอยากชิงจุดก่อนหมายความว่าที่รอบยิ่งสูง ถ้าชิงจุดระเบิดถูกจังหวะอาจจะทำให้เครื่องแรงขึ้นก็ได้ครับอันนนี้ก็ถูกอันนี้ต้องฟลุ๊กละหรือโชคดีลแล้วละ
 เพราะรอบยิ่งเร็วหัวเทียนมันชาตร์ไฟไม่ทันไฟอ่อนละถ้าชิงจุดได้พอดีได้จะดีมากเลย   นี่คือที่มาทำไมดีเซลไม่ต้องใช้หัวเทียน  มีใครเคยสงสัยไหมว่า ถ้าเครื่องเบนซิลใส่น้ำมันดีเซลหรือเครื่องดีเซลใส่น้ำมันเบนซิล จะเกิดอะไรขึ้นพังเหมือนกันไหม

ข้อนี้ผมเห็นด้วยกับท่านทุกประการครับ

อย่างไรก็ตาม ขออภัยหากล่วงเกินนะครับ จุดประสงค์ของผมต้องการเปิดเวทีสนทนาและหาข้อสรุปหาความถูกต้องเท่านั้น บางข้อเถียง บางข้อยอมรับความผิดพลาด

บางข้อฝากคำถามเพิ่ม ยังยินดีรับฟังความเห็นจากทุกท่านนะครับ

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,418
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #12 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 13, 2015, 22:20:47 »
-ต้องฉีดเชื้อเพลิงมากกว่า เพราะสูตรทางเคมีไม่เหมือนกัน ส่วนผสมที่ลงตัวของอากาศกับน้ำมันของเอทานอลคือ 9:1 ในขณะที่ของเบนซิน 14.7:1

 ดังนั้นจึงต้องฉีดเพิ่มเพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานได้ ส่วนผสม 14.7 ถือว่าพอดีสำหรับเบนซิน แต่ถือว่า "บาง" สำหรับเอทานอล
=คุณเข้าใจถูกแค่ครึ่งเดียว ระบบไม่ได้ปรับให้ได้ส่วนผสม 14.7 oxygensensor มันอ่านเป็นค่าออกมาเป็นvoltมันไม่รู้หรอกอัตตราส่วนเท่าไหร่  แต่ๆมันจะบางก็ต่อเมื่อ 14.7:1คืออะไร คืออากาศต่อน้ำมัน อากาศ14.7น้ำมัน1 ,เอทานอลอากาศ 9น้ำมัน1ในสถานะของเหลวเหมือนกัน หมายความว่าถ้าน้ำมันระบบหัวฉีด เวลาในการฉีดเท่ากัน เบนซิลจะกินอากาศมากกว่า เอทานอลใช้น้อยกว่า แต่ทีนี้ใน1สูบ สมมุติว่า 500cc ไม่นับเทคโนโลยีวาวล์แปรผันหรืออื่นๆ อากาศเข้าไปเต็มพอดีเลย นี่คือที่มาทำไม ฉีดเท่ากันว่าบาง
ข้อนี้ผมยังอ่านดูแล้วก็ยังสงสัยว่ามีเนื้อหาจุดใดที่ท่านกับผมเข้าใจแตกต่างกัน สิ่งที่ผมพูดไปครั้งก่อนนั้น ไม่ได้กล่าวถึงระบบและวิธีการปรับอัตราส่วนของเครื่องยนต์ ไม่ได้กล่าวถึงแลมบ์ด้าเซนเซอร์
หากแต่กล่าวถึงความจำเป็นว่าหากจะใช้ ต้องหาวิธีปรับอัตราส่วนผสม และอัตราส่วนผสมของน้ำมันที่ผมพูดว่า 14.7 คือพอดีของเบนซิน แต่บางสำหรับเอทานอล
ก็เพราะเอทานอลกินอากาศน้อยกว่าไม่ใช่หรือครับ อาจเป็นที่ผมเขียนไม่เคลียร์เองครับผม

-แต่ไม่ได้แรงเพราะฉีดเชื้อเพลิงมากกว่าเลย เพราะด้วยปริมาณน้ำมันที่เท่ากัน เอทานอลเผาแล้วให้พลังงานน้อยกว่าเบนซิน

 แต่เพราะเราฉีดปริมาณเชื้อเพลิงมากกว่าอยู่แล้ว ก็เลยชดเชยกันไป (แต่ดูเหมือนจะมีคนเคยคำนวณว่าตรงจุดนี้ E85 ก็ได้เปรียบนิดๆ แล้ว)
=ต่อ1หน่วยให้พลังงานน้อยกว่าจริง แต่เป็นเพราะเชื้อเพลิงเข้าไปเยอะขึ้น พลังงานที่ออกมาเยอะกว่าเบนซิลอีก
ข้อนี้ผมได้วงเล็บท้ายประโยคของผมไว้แต่แรกแล้วนะครับ สามารถดูได้ในตัวอักษรสีเขียว หรือถ้าจะให้ลองคำนวณดูใหม่
สมมติมีอากาศ 14.7 กรัม จะต้องฉีดเบนซิน 1 กรัม จึงจะพอดี ซึ่งค่าความร้อน LHV ของเบนซินอยู่ที่ 43.448 kJ/g
จึงได้ว่า เบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ ต่ออากาศ 14.7 กรัม

แต่อากาศ 14.7 กรัมเท่ากัน ต้องฉีดเอทานอล 14.7/9 = 1.6333 กรัม ซึ่งค่าความร้อน LHV ของเอทานอลอยู่ที่ 26.952 kJ/g
จึงได้ว่า เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ ต่ออากาศ 14.7 กรัมเท่ากัน

http://cta.ornl.gov/bedb/appendix_a/Lower_and_Higher_Heating_Values_of_Gas_Liquid_and_Solid_Fuels.pdf

สรุปว่า ข้อนี้ท่านและผมเห็นตรงกันครับ คือถ้าสามารถใช้เอทานอลได้อย่างถูกต้อง รถจะแรงขึ้น

-การที่เราฉีดเชื้อเพลิงมากกว่า การระเหยของเชื้อเพลิงที่หน้าวาล์วไอดีจะดูดความร้อนมากกว่า ทำให้อากาศในท่อร่วมไอดีเย็นมากกว่า
 ความหนาแน่นอากาศมากกว่า มวลไอดีก็เข้าห้องเผาไหม้ได้มากกว่า เครื่องยนต์จึงแรงกว่า (นี่ล่ะผมว่าประเด็น)
=ข้อนี้ไม่ทราบว่ามีผลไหมถ้ามีไม่น่าเห็นผลต่างได้ชัด แต่ถ้าเป็นระบบdirectละส่วนนี้ก็ไม่มีผลแล้วสิ
http://papers.sae.org/2012-01-1275/

จากงานวิจัยต่างประเทศ ถึงจะไม่เกี่ยวข้องโดยตรง แต่มีเขียนใน Abstact ไว้ค่อนข้างชัดเจนว่า
เบนซินช่วยให้ไอดีเย็นลง 14 องศาเซลเซียส ในขณะที่ E85 ช่วยให้เย็นลง 49 องศาเซลเซียส ซึ่งสำหรับผม ส่วนต่าง 35 องศา มันต่างค่อนข้างชัดเจนครับ
เป็นอีกหนึ่งปัจจัยหนุนให้เครื่องแรงขึ้นนอกจากข้อก่อนหน้า
แต่เรื่องที่ว่าระบบ direct ผลตรงนี้จะหายไปนั้น ผมเห็นด้วยครับ ท่านพูดถูก

-แต่อากาศที่เย็นกว่าจะไม่มีประโยชน์เลย ถ้าไม่ได้ผ่านการตั้งไฟจุดระเบิดให้แก่ขึ้น เพราะการลามของเปลวไฟของเอทานอลวิ่งช้ากว่าเบนซิน ถ้าจุดระเบิดในจังหวะเดิม

 อาจจะเผาช้า ไม่ทันได้ใช้ประโยชน์จากพลังงานได้เต็มที่ ก็ถึงจังหวะวาล์วไอเสียเปิดซะก่อน ซึ่งอาจทำให้ไอเสียออกมาร้อนขึ้น

 หรือถ้าไฟอ่อนมากๆก็อาจตดปุ้งปั้งออกท่อไอเสีย ดังนั้นหากเป็นรถเก่าระบบจานจ่ายก็ควรตั้งไฟจานจ่ายให้แก่ขึ้น หรือหากเป็นรุ่นคอยล์ตรงอิเล็กทรอนิกส์

 ส่วนตัวเชื่อว่ากล่องน่าจะฉลาดพอที่จะแก่ไฟขึ้นเองได้ ต่อให้เป็นคอยล์ตรงรุ่นเก่าๆ ก็ตาม (ตามความเข้าใจของผมนะครับ)
=ขอบอกแค่ว่ารถhondaบ้านๆเดิมที่ไม่รับe85 ปรับไฟจุด +-ได้แค่5 จากค่าเดิมเท่านั้นยกเว้นที่รอบเดินเบา ซึ่งยังไม่พอเพราะระยะเวลาลามของไฟนานขึ้นจากเชื้อเพลิงที่ต้องเผามากขึ้น
ข้อนี้ผมยอมรับตรงๆ ว่าไม่ทราบครับ ถ้าเป็นเช่นนั้นจริง จะเป็นข้อเสียใหญ่พอสมควรเลยทีเดียว

-แต่(อีกรอบ) อุณหภูมิการเผาไหม้ของ E85 อย่างไรก็น้อยกว่าครับ เพียงแต่บางครั้งไฟจุดระเบิดองศาอ่อนเกินไป
 แต่อุณหภูมิสูงสุดที่เกิดในระหว่างการเผาไหม้ เย็นกว่าเบนซินครับ ดังนั้น เรื่องฝาโก่ง เสื้อโก่ง ตอนฮีต เกิดยากกว่าเบนซิน
=ยังไม่ถูกหมดจริงอยู่อุณหภูมิเผาไหม้น้อยกว่าตอนใช้งานปรกติขับนิ่งๆเพื่อให้ประหยัดรถจะฉีดบาง แต่ถ้าคิดจากการเผาไหม้สมบูรณ์ในลูกสูบร้อนกว่า อย่า!งงว่าก็ให้ความร้อนน้อยกว่าหนิก็เย็นกว่าอยู่แล้วแต่ในลูกสูบมันไม่ได้ต้องการแค่1หน่วย  ตามที่คุณAlcatrazบอกขับเร่งแซงมากๆมันร้อนกว่าแน่เพราะการที่จะทำให้กำลังอัดสูงสุดไม่ใช่จุดเผาไหม้สมบูรณ์
http://cta.ornl.gov/bedb/biofuels/ethanol/Fuel_Property_Comparison_for_Ethanol-Gasoline-No2Diesel.xls

ค่อนข้างไม่เห็นด้วย และงงอยูดีครับ ท่านกำลังเปรียบเทียบเชื้อเพลิงหนึ่งที่ฉีดบาง กับอีกเชื้อเพลิงหนึ่งที่ฉีดพอดีหรือเปล่า? สถานการณ์ที่เครื่องฉีดบาง จะเติมอะไร เครื่องก็ฉีดบาง

หากคิดที่การเผาไหม้สมบูรณ์ทั้งคู่ จริงอยู่ว่าเอทานอลให้พลังงานหนักกว่า แต่มวลของไอดีก็หนักกว่าเช่นกัน พลังงานจึงกระจายไปในมวลที่มากกว่า

ลองคิดหยาบๆ แบบไม่ละเอียดนะครับ ข้อมูลดึงจากข้อก่อนหน้ามานะครับ

"เบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ ต่ออากาศ 14.7 กรัม" + เชื้อเพลิง 1 กรัม จะได้ไอดีรวม 15.7 กรัม คิดเป็น 2.767 กิโลจูล ต่อไอดี 1 กรัม

"เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ ต่ออากาศ 14.7 กรัม" + เชื่อเพลิง 1.633 กรัม (รวมหน่วยเชื้อเพลิงเพิ่มแล้ว) จะได้ไอดี 16.3 กรัม คิดเป็น 2.695 กิโลจูล ต่อไอดี 1 กรัม

และยังไม่นับการที่ไอดีถูกทำให้เย็นลงมากกว่าด้วย ข้อนี้ผมอยากให้ท่านเสนอมากกว่านี้ ว่าจังหวะใด เงื่อนไขใด ที่เอทานอลจะร้อนกว่าเบนซิน

และร้อนกว่าได้อย่างไร เพราะผมอาจจะยังมองข้ามบางจุดไปครับ

-ส่วนออกเทน มันเป็นแค่ค่าป้องกันการจุดระเบิดเองก่อนเวลาอันควรของส่วนผสม ออกเทนสูง เชื้อเพลิงไม่ชิงจุดระเบิดเอง เป็นผลดีกับเครื่อง แต่ไม่เกี่ยวกับแรง

 ตรงกันข้าม การที่ออกเทนต่ำ การชิงจุดระเบิดเองง่ายขึ้น ถ้าชิงจุดระเบิดถูกจังหวะอาจจะทำให้เครื่องแรงขึ้นก็ได้ครับ แต่ไม่ดีกับสุขภาพเครื่องในระยะยาว
=ถูกต้องมันเป็นแค่ค่าป้องกันการจุดระเบิดเองก่อนเวลาอันควรของส่วนผสม มันถึงมีหัวเทียนคอยควบคุมการทำงานได้ แต่ๆออกเทนมีผลกับความเร็วรอบ ยิ่งความเร็วในการอัดมากเท่าไหร่มันก็ยิ่งอยากชิงจุดก่อนหมายความว่าที่รอบยิ่งสูง ถ้าชิงจุดระเบิดถูกจังหวะอาจจะทำให้เครื่องแรงขึ้นก็ได้ครับอันนนี้ก็ถูกอันนี้ต้องฟลุ๊กละหรือโชคดีลแล้วละ
 เพราะรอบยิ่งเร็วหัวเทียนมันชาตร์ไฟไม่ทันไฟอ่อนละถ้าชิงจุดได้พอดีได้จะดีมากเลย   นี่คือที่มาทำไมดีเซลไม่ต้องใช้หัวเทียน  มีใครเคยสงสัยไหมว่า ถ้าเครื่องเบนซิลใส่น้ำมันดีเซลหรือเครื่องดีเซลใส่น้ำมันเบนซิล จะเกิดอะไรขึ้นพังเหมือนกันไหม

ข้อนี้ผมเห็นด้วยกับท่านทุกประการครับ

อย่างไรก็ตาม ขออภัยหากล่วงเกินนะครับ จุดประสงค์ของผมต้องการเปิดเวทีสนทนาและหาข้อสรุปหาความถูกต้องเท่านั้น บางข้อเถียง บางข้อยอมรับความผิดพลาด

บางข้อฝากคำถามเพิ่ม ยังยินดีรับฟังความเห็นจากทุกท่านนะครับ

เห็นด้วยทุกประการครับ
งานวิจัยอะไรก็ออกมายืนยันแล้ว ทั้งเรื่อง

เพราะเรากำลัง พูดถึง เปรียบเทียบ เอทานอล กับ เบนซิน
ในมาตราฐานเดียวกัน ในระดับ อุตสหกรรม และ การผลิต ที่ได้มาตราฐานจากโรงงาน รวมถึงรถ FFV

ไม่ใช่มาตราฐาน ช่าง จูน ติด E85 ใส่รถที่ไม่รองรับ  เพิ่มความแรงรถ แบบไทย ๆ

ออฟไลน์ liquidize

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 13
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #13 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 04:01:45 »
-ต้องฉีดเชื้อเพลิงมากกว่า เพราะสูตรทางเคมีไม่เหมือนกัน ส่วนผสมที่ลงตัวของอากาศกับน้ำมันของเอทานอลคือ 9:1 ในขณะที่ของเบนซิน 14.7:1

 ดังนั้นจึงต้องฉีดเพิ่มเพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานได้ ส่วนผสม 14.7 ถือว่าพอดีสำหรับเบนซิน แต่ถือว่า "บาง" สำหรับเอทานอล
=คุณเข้าใจถูกแค่ครึ่งเดียว ระบบไม่ได้ปรับให้ได้ส่วนผสม 14.7 oxygensensor มันอ่านเป็นค่าออกมาเป็นvoltมันไม่รู้หรอกอัตตราส่วนเท่าไหร่  แต่ๆมันจะบางก็ต่อเมื่อ 14.7:1คืออะไร คืออากาศต่อน้ำมัน อากาศ14.7น้ำมัน1 ,เอทานอลอากาศ 9น้ำมัน1ในสถานะของเหลวเหมือนกัน หมายความว่าถ้าน้ำมันระบบหัวฉีด เวลาในการฉีดเท่ากัน เบนซิลจะกินอากาศมากกว่า เอทานอลใช้น้อยกว่า แต่ทีนี้ใน1สูบ สมมุติว่า 500cc ไม่นับเทคโนโลยีวาวล์แปรผันหรืออื่นๆ อากาศเข้าไปเต็มพอดีเลย นี่คือที่มาทำไม ฉีดเท่ากันว่าบาง

ข้อนี้ผมยังอ่านดูแล้วก็ยังสงสัยว่ามีเนื้อหาจุดใดที่ท่านกับผมเข้าใจแตกต่างกัน สิ่งที่ผมพูดไปครั้งก่อนนั้น ไม่ได้กล่าวถึงระบบและวิธีการปรับอัตราส่วนของเครื่องยนต์ ไม่ได้กล่าวถึงแลมบ์ด้าเซนเซอร์
หากแต่กล่าวถึงความจำเป็นว่าหากจะใช้ ต้องหาวิธีปรับอัตราส่วนผสม และอัตราส่วนผสมของน้ำมันที่ผมพูดว่า 14.7 คือพอดีของเบนซิน แต่บางสำหรับเอทานอล
ก็เพราะเอทานอลกินอากาศน้อยกว่าไม่ใช่หรือครับ อาจเป็นที่ผมเขียนไม่เคลียร์เองครับผม

เป็นเพราะผมอ่านไม่เข้าใจกับประโยค ดังนั้นจึงต้องฉีดเพิ่มเพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานได้ ส่วนผสม 14.7 ถือว่าพอดีสำหรับเบนซิน แต่ถือว่า "บาง" สำหรับเอทานอล ในตอนแรก
ผมเข้าใจแล้ว ว่าเข้าใจตรงกัน

-แต่(อีกรอบ) อุณหภูมิการเผาไหม้ของ E85 อย่างไรก็น้อยกว่าครับ เพียงแต่บางครั้งไฟจุดระเบิดองศาอ่อนเกินไป
 แต่อุณหภูมิสูงสุดที่เกิดในระหว่างการเผาไหม้ เย็นกว่าเบนซินครับ ดังนั้น เรื่องฝาโก่ง เสื้อโก่ง ตอนฮีต เกิดยากกว่าเบนซิน
=ยังไม่ถูกหมดจริงอยู่อุณหภูมิเผาไหม้น้อยกว่าตอนใช้งานปรกติขับนิ่งๆเพื่อให้ประหยัดรถจะฉีดบาง แต่ถ้าคิดจากการเผาไหม้สมบูรณ์ในลูกสูบร้อนกว่า อย่า!งงว่าก็ให้ความร้อนน้อยกว่าหนิก็เย็นกว่าอยู่แล้วแต่ในลูกสูบมันไม่ได้ต้องการแค่1หน่วย  ตามที่คุณAlcatrazบอกขับเร่งแซงมากๆมันร้อนกว่าแน่เพราะการที่จะทำให้กำลังอัดสูงสุดไม่ใช่จุดเผาไหม้สมบูรณ์

http://cta.ornl.gov/bedb/biofuels/ethanol/Fuel_Property_Comparison_for_Ethanol-Gasoline-No2Diesel.xls

ค่อนข้างไม่เห็นด้วย และงงอยูดีครับ ท่านกำลังเปรียบเทียบเชื้อเพลิงหนึ่งที่ฉีดบาง กับอีกเชื้อเพลิงหนึ่งที่ฉีดพอดีหรือเปล่า? สถานการณ์ที่เครื่องฉีดบาง จะเติมอะไร เครื่องก็ฉีดบาง

หากคิดที่การเผาไหม้สมบูรณ์ทั้งคู่ จริงอยู่ว่าเอทานอลให้พลังงานหนักกว่า แต่มวลของไอดีก็หนักกว่าเช่นกัน พลังงานจึงกระจายไปในมวลที่มากกว่า

ลองคิดหยาบๆ แบบไม่ละเอียดนะครับ ข้อมูลดึงจากข้อก่อนหน้ามานะครับ

"เบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ ต่ออากาศ 14.7 กรัม" + เชื้อเพลิง 1 กรัม จะได้ไอดีรวม 15.7 กรัม คิดเป็น 2.767 กิโลจูล ต่อไอดี 1 กรัม

"เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ ต่ออากาศ 14.7 กรัม" + เชื่อเพลิง 1.633 กรัม (รวมหน่วยเชื้อเพลิงเพิ่มแล้ว) จะได้ไอดี 16.3 กรัม คิดเป็น 2.695 กิโลจูล ต่อไอดี 1 กรัม

และยังไม่นับการที่ไอดีถูกทำให้เย็นลงมากกว่าด้วย ข้อนี้ผมอยากให้ท่านเสนอมากกว่านี้ ว่าจังหวะใด เงื่อนไขใด ที่เอทานอลจะร้อนกว่าเบนซิน

และร้อนกว่าได้อย่างไร เพราะผมอาจจะยังมองข้ามบางจุดไปครับ
=ลิงค์ที่คุณส่งมาก็บอกอยู่ว่าร้อนกว่า สมการที่คุณให้มาก็ใช้ไม่ได้ไม่ใช่สมการย้อนกลับนะครับ มันเป็นการสันดาปซึ่งจะจุดระเบิดก่อนถึงจะเกิดพลังงาน(KJ) แต่สมการที่คุณว่าคือ น้ำมัน+อากาศที่ยังไม่ได้จุดระเบิดมีค่าออกมาเป็นพลังงานซะแล้ว คำตอบมันก็อยู่ในคำตอบของคุณแล้วว่า การเผาไหม้สมบูรณ์ของเบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ อยู่แล้ว พลังงานออกมาเยอะความร้อนก็เยอะตาม อีกอย่างHHV นะไม่ใช่LHV เพราะการใช้งานปรกติมันมีความร้อนสะสมอยู่ถ้าสตารท์ครั้งแรกตอนเช้าอะถูกต้องใช้ได้ หรือสังเกตุตอนเช้าได้ว่าทำไมสตาท์ช่วงเช้าถึงมีควันไอน้ำออกมา LHVไม่ใช่จุดที่เกิดพลังงานสูงสุดไม่ใช่แค่เป็นเพราะอากาศตอนเช้าหรอก
-เบนซิลอัตราส่วนอยู่ที่ 13.5โดยประมาณ  14.7คือน้ำมันเชื้อเพลิงที่ยังไม่ได้ใส่สารปรุงแต่ง เอทานอล =9.05 ลองเขียนสมการดูได้
-อุณหภูมิไอดีต่ำย่อมเป็นผลดีเพราะมวลอากาศที่เพิ่มขึ้นคู่กับมวลของเอทานอลที่มากกว่าเบนซิลส่งผลให้อัตราเร่งดีขึ้นกว่าเบนซิลแน่นอน ไม่งั้นที่เทสกันในเวลากลางคืนจะดีกว่ากลางวันได้อย่างไร

ขออภัยที่พิมพ์ไม่สวยบางคำ

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,418
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #14 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 07:32:13 »
ผมเข้ามาอ่าน
ตกลง ว่า
liquidize  กับ  Ji.Cl.
ความเห็นตรงกันนะครับ สรุป ก็คือ เอทานอล มัน ดีกว่า เบนซินนะเหลาะ ในเกือบทุกๆด้าน
คืออยากให้ สรุปไปเลย ไม่ต้องมาแบบว่า เอทนนอลดีกว่า แต่ก็ไม่ทั้งหมด ไม่ 100 % อะไรงี้ คือ คนอ่านจะงง เพราะ ข้อมูลมันไม่เคลียร์

 ;D ;D ;D ;D


แต่ผมติดใจแค่ การเผาไหม้ สมบูรณื ตอนเร่ง ที่คุณ liquidize บอก ว่า เผาไหม้สมบูรณ์ในลูกสูบของเอทานอล ร้อนกว่า เบนซิน เมื่อฉีดหนา
ผมว่า อัตรส่วน 14.7 นี่ มันก็ฉีดเท่าเดิมตลอดนะครับ
ผมกำลังจะเอารถ E85 ผมไปออกวิ่งแล้วเร่ง จับ OBD ว่าตอนเร่ง อัตราส่วน 14.7 นี่ มันจะเหมือนเดิมไหม
ยังไงผมมองว่า คุณ Ji.Cl. พูดเชิง วิชาการ มากกว่านะ


ในเมื่อ การเผาไหม้ ตอนปกติ ที่ F/A 14.7 (เอทานอล ก็จะปรับมาให้เหมือน น้ำมัน อ่านค่าจาก F/A )
ถ้าคุณ liquidize บอกว่า ตอน ขับช้าๆ  เอทานอลเย็น แต่ ขับ เร็ว จะร้อนกว่าน้ำมัน เพราะ จ่ายหนา ขึ้น ??????
รถมันจ่ายเท่าเดิมไม่ใช่เหรอ ที่ 14.7  แค่ความเร็วรอบสูงขึ้น มันก็ต้องจ่ายมากขึ้น แต่ไม่ได้จ่ายหนาขึ้น ใช่ไหม หนาคือการเทียบ  F/A  หรือ องศาจุดระเบิด ใช่ไหมครับ
หากพูดแบบนั้น น้ำมันมันก็จ่ายหนา ขึ้น มันก็ไม่ร้อนกว่ากันเหรอครับ
เพราะการจูน องศาจุดระเบิด มัน เป็นค่าคงที่ เวลารถเร่งเครื่อง มันจะเปลี่ยน ค่าคงที่นั่นได้เองเหรอครับ ผม งง
ดังนั้น หากพูดตาม คุณ liquidize บอก

เมื่อ เอทานอล รถเร่งปกติ แล้วเย็นกว่า พอเร่งขึ้น มันจะร้อนกว่า เหรอ ????????????
เมื่อ น้ำมัน เร่งปกติ ปล้วร้อนกว่า พอเร่งเครื่องมากขึ้น มันจะเย็นกว่า เอทานอล เหรอ ????????????

โดยส่วนตัวหากมอง A/Fเป็นค่าคงที่
อะไรที่มันเย็ยกว่า มันก็จะเย็น กว่า ที่ factor เปลี่ยนไป เหมือนๆ กัน

หากให้ อยากให้ทดลองก้ได้ ผมจะเติม E85 จับเวลา วัดอุณหภูมิให้ดู
แล้วค่อยเปลี่ยน มาใช้ E10 แล้ว จับเวลา วัดอุณหภูมิ

ซึ่งผมเคยไปทดสอบหลายครั้งมาแล้ว ว่า E85 อัตราเร่งมันดีกว่า โซฮอล นอน แล้วเครื่องมันก็ไม่ได้ร้อน กว่า
ผมใช้รถ EX ครับ






« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 08:22:00 โดย mamaman »

ออฟไลน์ liquidize

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 13
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #15 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 15:23:07 »
ผมเข้ามาอ่าน
ตกลง ว่า
liquidize  กับ  Ji.Cl.
ความเห็นตรงกันนะครับ สรุป ก็คือ เอทานอล มัน ดีกว่า เบนซินนะเหลาะ ในเกือบทุกๆด้าน
คืออยากให้ สรุปไปเลย ไม่ต้องมาแบบว่า เอทนนอลดีกว่า แต่ก็ไม่ทั้งหมด ไม่ 100 % อะไรงี้ คือ คนอ่านจะงง เพราะ ข้อมูลมันไม่เคลียร์

 ;D ;D ;D ;D


แต่ผมติดใจแค่ การเผาไหม้ สมบูรณื ตอนเร่ง ที่คุณ liquidize บอก ว่า เผาไหม้สมบูรณ์ในลูกสูบของเอทานอล ร้อนกว่า เบนซิน เมื่อฉีดหนา
ผมว่า อัตรส่วน 14.7 นี่ มันก็ฉีดเท่าเดิมตลอดนะครับ
ผมกำลังจะเอารถ E85 ผมไปออกวิ่งแล้วเร่ง จับ OBD ว่าตอนเร่ง อัตราส่วน 14.7 นี่ มันจะเหมือนเดิมไหม
ยังไงผมมองว่า คุณ Ji.Cl. พูดเชิง วิชาการ มากกว่านะ


ในเมื่อ การเผาไหม้ ตอนปกติ ที่ F/A 14.7 (เอทานอล ก็จะปรับมาให้เหมือน น้ำมัน อ่านค่าจาก F/A )
ถ้าคุณ liquidize บอกว่า ตอน ขับช้าๆ  เอทานอลเย็น แต่ ขับ เร็ว จะร้อนกว่าน้ำมัน เพราะ จ่ายหนา ขึ้น ??????
รถมันจ่ายเท่าเดิมไม่ใช่เหรอ ที่ 14.7  แค่ความเร็วรอบสูงขึ้น มันก็ต้องจ่ายมากขึ้น แต่ไม่ได้จ่ายหนาขึ้น ใช่ไหม หนาคือการเทียบ  F/A  หรือ องศาจุดระเบิด ใช่ไหมครับ
หากพูดแบบนั้น น้ำมันมันก็จ่ายหนา ขึ้น มันก็ไม่ร้อนกว่ากันเหรอครับ
เพราะการจูน องศาจุดระเบิด มัน เป็นค่าคงที่ เวลารถเร่งเครื่อง มันจะเปลี่ยน ค่าคงที่นั่นได้เองเหรอครับ ผม งง
ดังนั้น หากพูดตาม คุณ liquidize บอก

เมื่อ เอทานอล รถเร่งปกติ แล้วเย็นกว่า พอเร่งขึ้น มันจะร้อนกว่า เหรอ ????????????
เมื่อ น้ำมัน เร่งปกติ ปล้วร้อนกว่า พอเร่งเครื่องมากขึ้น มันจะเย็นกว่า เอทานอล เหรอ ????????????

โดยส่วนตัวหากมอง A/Fเป็นค่าคงที่
อะไรที่มันเย็ยกว่า มันก็จะเย็น กว่า ที่ factor เปลี่ยนไป เหมือนๆ กัน

หากให้ อยากให้ทดลองก้ได้ ผมจะเติม E85 จับเวลา วัดอุณหภูมิให้ดู
แล้วค่อยเปลี่ยน มาใช้ E10 แล้ว จับเวลา วัดอุณหภูมิ

ซึ่งผมเคยไปทดสอบหลายครั้งมาแล้ว ว่า E85 อัตราเร่งมันดีกว่า โซฮอล นอน แล้วเครื่องมันก็ไม่ได้ร้อน กว่า
ผมใช้รถ EX ครับ







คุณได้ลืมการตั้งค่า profile ในapp torque obdหรือเปล่า?ว่าเลือกเป็นe85 14.7ที่คุณว่ามันอากาศนะครับ แล้วถ้าลิ้นไอดีเริ่มเปิดมากขึ้นเรื่อยๆแน่ใจหรือว่าจะฉีดน้ำมันเท่าเดิม
อีกอย่างในแอปมันอ่านจากค่าvolt แล้วแปลงเป็นอัตตราส่วนเอาถ้าคุณไม่ตั้งค่ามันก็โชว์ อย่างนั้นแหละ ethanol fuel ที่โชว์ว่า85 อาศัยวัดแรงดูด+กับเวลาน้ำมันที่เดินเบาฉีดเพิ่มขึ้นมา
ถ้าคุณคลิกดาวน์คันเร่งมันไม่มีทางที่จะ14.7เบนซิลได้แน่นอน กำลังสูงสุดที่เขาว่ากันที่12.5ไม่ใช่หรือ น้ำมันจ่ายหนาขึ้นแต่ความร้อนที่ออกมามันก็น้อยกว่าหนิ สมการที่คุณJi.Cl.กล่าวไว้เขาก็บอกถ้าไม่เชื่อผม และองศาจุดระเบิดปรับเปลี่ยนได้ตลอดเวลา

เมื่อ เอทานอล รถเร่งปกติ แล้วเย็นกว่า พอเร่งขึ้น มันจะร้อนกว่า เหรอ ฮืมฮืมฮืมฮืม
-เพราะรถอาศัยแค่แรงดันลูกสูบหมุนให้เพียงพอเวลาวิ่งคงที ค่าความร้อนของเอทานอลน้อยกว่า
เมื่อ น้ำมัน เร่งปกติ ปล้วร้อนกว่า พอเร่งเครื่องมากขึ้น มันจะเย็นกว่า เอทานอล เหรอ ฮืมฮืมฮืมฮืม
-ก็ค่าพลังงานของเบนซิลไงละ มันควรเรียกว่าความแตกต่างของอุณหภูมิมากกว่า

ซึ่งผมเคยไปทดสอบหลายครั้งมาแล้ว ว่า E85 อัตราเร่งมันดีกว่า โซฮอล นอน แล้วเครื่องมันก็ไม่ได้ร้อน กว่า
ผมใช้รถ EX ครับ
-ถูกและก็ไม่ถูก คุณรู้ใช่ไมว่าเอทานอลเผาไหม้สมบูรณ์กว่า เพราะว่า co2 ที่ปล่อยออกมาน้อยกว่า ความร้อนที่สะสมในท่อไอเสียจึงน้อยกว่าย้ำในท่อไอเสีย แต่ถ้าเทียบกับอากาศที่กินเข้าไปเท่ากันระหว่างเบนซิลเพียวเลยกับเอทานอล ผลลัพท์คือ เอทานอลปล่อยพลังงานความร้อนมากกว่า แล้วคุณว่าจากECT ใช่หรือไม่หรืออุณหภูมิน้ำมันละมันก็ไม่ใช่ทั้งสองอย่าง ที่สนใจคืออุณหภูมิที่ผนังสูบต่างหาก
สรุปถ้าขับเรื่อยๆเอทานอลเย็นกว่าแต่ถ้าคุณคิดที่อัดเต็มที่ร้อนกว่า  ถ้าขับในชีวิตประจำวันคุณน่าจะรู้สึกว่าคันเร่งเบากว่าด้วยซ้ำ ถ้าคันเร่งไฟฟ้าไม่ได้ชดเชยลิ้นไว้

ต้องแยกออกมาว่าอุณหภูมิ จากไอดีe85ดีกว่า-จังหวะระเบิดe85ปล่อยพลังงานมากกว่าร้อนกว่าเทียบปริมาตรอากาศเท่ากัน>คายออกท่อไอเสียe85อุณหภูมิลดลงเร็วกว่าเพราะไม่เกิดความร้อนสะสมจากเขม่า(co2)

เตือน!14.7ของเอทานอลที่คุณเข้าใจมันไม่ใช่คุณไปปรับในappก่อน คุณจะวัดว่าเผาไหม้สมบูรณ์อยู่ที่เท่าไหร่คุณไปวัดที่voltดีกว่า มีค่าระหว่าง2เชื้อเพลิงเหมือนกันรวมเชื้อเพลิงอื่นๆ

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,418
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #16 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 15:34:53 »
ผมเข้ามาอ่าน
ตกลง ว่า
liquidize  กับ  Ji.Cl.
ความเห็นตรงกันนะครับ สรุป ก็คือ เอทานอล มัน ดีกว่า เบนซินนะเหลาะ ในเกือบทุกๆด้าน
คืออยากให้ สรุปไปเลย ไม่ต้องมาแบบว่า เอทนนอลดีกว่า แต่ก็ไม่ทั้งหมด ไม่ 100 % อะไรงี้ คือ คนอ่านจะงง เพราะ ข้อมูลมันไม่เคลียร์

 ;D ;D ;D ;D


แต่ผมติดใจแค่ การเผาไหม้ สมบูรณื ตอนเร่ง ที่คุณ liquidize บอก ว่า เผาไหม้สมบูรณ์ในลูกสูบของเอทานอล ร้อนกว่า เบนซิน เมื่อฉีดหนา
ผมว่า อัตรส่วน 14.7 นี่ มันก็ฉีดเท่าเดิมตลอดนะครับ
ผมกำลังจะเอารถ E85 ผมไปออกวิ่งแล้วเร่ง จับ OBD ว่าตอนเร่ง อัตราส่วน 14.7 นี่ มันจะเหมือนเดิมไหม
ยังไงผมมองว่า คุณ Ji.Cl. พูดเชิง วิชาการ มากกว่านะ


ในเมื่อ การเผาไหม้ ตอนปกติ ที่ F/A 14.7 (เอทานอล ก็จะปรับมาให้เหมือน น้ำมัน อ่านค่าจาก F/A )
ถ้าคุณ liquidize บอกว่า ตอน ขับช้าๆ  เอทานอลเย็น แต่ ขับ เร็ว จะร้อนกว่าน้ำมัน เพราะ จ่ายหนา ขึ้น ??????
รถมันจ่ายเท่าเดิมไม่ใช่เหรอ ที่ 14.7  แค่ความเร็วรอบสูงขึ้น มันก็ต้องจ่ายมากขึ้น แต่ไม่ได้จ่ายหนาขึ้น ใช่ไหม หนาคือการเทียบ  F/A  หรือ องศาจุดระเบิด ใช่ไหมครับ
หากพูดแบบนั้น น้ำมันมันก็จ่ายหนา ขึ้น มันก็ไม่ร้อนกว่ากันเหรอครับ
เพราะการจูน องศาจุดระเบิด มัน เป็นค่าคงที่ เวลารถเร่งเครื่อง มันจะเปลี่ยน ค่าคงที่นั่นได้เองเหรอครับ ผม งง
ดังนั้น หากพูดตาม คุณ liquidize บอก

เมื่อ เอทานอล รถเร่งปกติ แล้วเย็นกว่า พอเร่งขึ้น มันจะร้อนกว่า เหรอ ????????????
เมื่อ น้ำมัน เร่งปกติ ปล้วร้อนกว่า พอเร่งเครื่องมากขึ้น มันจะเย็นกว่า เอทานอล เหรอ ????????????

โดยส่วนตัวหากมอง A/Fเป็นค่าคงที่
อะไรที่มันเย็ยกว่า มันก็จะเย็น กว่า ที่ factor เปลี่ยนไป เหมือนๆ กัน

หากให้ อยากให้ทดลองก้ได้ ผมจะเติม E85 จับเวลา วัดอุณหภูมิให้ดู
แล้วค่อยเปลี่ยน มาใช้ E10 แล้ว จับเวลา วัดอุณหภูมิ

ซึ่งผมเคยไปทดสอบหลายครั้งมาแล้ว ว่า E85 อัตราเร่งมันดีกว่า โซฮอล นอน แล้วเครื่องมันก็ไม่ได้ร้อน กว่า
ผมใช้รถ EX ครับ







คุณได้ลืมการตั้งค่า profile ในapp torque obdหรือเปล่า?ว่าเลือกเป็นe85 14.7ที่คุณว่ามันอากาศนะครับ แล้วถ้าลิ้นไอดีเริ่มเปิดมากขึ้นเรื่อยๆแน่ใจหรือว่าจะฉีดน้ำมันเท่าเดิม
อีกอย่างในแอปมันอ่านจากค่าvolt แล้วแปลงเป็นอัตตราส่วนเอาถ้าคุณไม่ตั้งค่ามันก็โชว์ อย่างนั้นแหละ ethanol fuel ที่โชว์ว่า85 อาศัยวัดแรงดูด+กับเวลาน้ำมันที่เดินเบาฉีดเพิ่มขึ้นมา
ถ้าคุณคลิกดาวน์คันเร่งมันไม่มีทางที่จะ14.7เบนซิลได้แน่นอน กำลังสูงสุดที่เขาว่ากันที่12.5ไม่ใช่หรือ น้ำมันจ่ายหนาขึ้นแต่ความร้อนที่ออกมามันก็น้อยกว่าหนิ สมการที่คุณJi.Cl.กล่าวไว้เขาก็บอกถ้าไม่เชื่อผม และองศาจุดระเบิดปรับเปลี่ยนได้ตลอดเวลา

เมื่อ เอทานอล รถเร่งปกติ แล้วเย็นกว่า พอเร่งขึ้น มันจะร้อนกว่า เหรอ ฮืมฮืมฮืมฮืม
-เพราะรถอาศัยแค่แรงดันลูกสูบหมุนให้เพียงพอเวลาวิ่งคงที ค่าความร้อนของเอทานอลน้อยกว่า
เมื่อ น้ำมัน เร่งปกติ ปล้วร้อนกว่า พอเร่งเครื่องมากขึ้น มันจะเย็นกว่า เอทานอล เหรอ ฮืมฮืมฮืมฮืม
-ก็ค่าพลังงานของเบนซิลไงละ มันควรเรียกว่าความแตกต่างของอุณหภูมิมากกว่า

ซึ่งผมเคยไปทดสอบหลายครั้งมาแล้ว ว่า E85 อัตราเร่งมันดีกว่า โซฮอล นอน แล้วเครื่องมันก็ไม่ได้ร้อน กว่า
ผมใช้รถ EX ครับ
-ถูกและก็ไม่ถูก คุณรู้ใช่ไมว่าเอทานอลเผาไหม้สมบูรณ์กว่า เพราะว่า co2 ที่ปล่อยออกมาน้อยกว่า ความร้อนที่สะสมในท่อไอเสียจึงน้อยกว่าย้ำในท่อไอเสีย แต่ถ้าเทียบกับอากาศที่กินเข้าไปเท่ากันระหว่างเบนซิลเพียวเลยกับเอทานอล ผลลัพท์คือ เอทานอลปล่อยพลังงานความร้อนมากกว่า แล้วคุณว่าจากECT ใช่หรือไม่หรืออุณหภูมิน้ำมันละมันก็ไม่ใช่ทั้งสองอย่าง ที่สนใจคืออุณหภูมิที่ผนังสูบต่างหาก
สรุปถ้าขับเรื่อยๆเอทานอลเย็นกว่าแต่ถ้าคุณคิดที่อัดเต็มที่ร้อนกว่า  ถ้าขับในชีวิตประจำวันคุณน่าจะรู้สึกว่าคันเร่งเบากว่าด้วยซ้ำ ถ้าคันเร่งไฟฟ้าไม่ได้ชดเชยลิ้นไว้

ต้องแยกออกมาว่าอุณหภูมิ จากไอดีe85ดีกว่า-จังหวะระเบิดe85ปล่อยพลังงานมากกว่าร้อนกว่าเทียบปริมาตรอากาศเท่ากัน>คายออกท่อไอเสียe85อุณหภูมิลดลงเร็วกว่าเพราะไม่เกิดความร้อนสะสมจากเขม่า(co2)

เตือน!14.7ของเอทานอลที่คุณเข้าใจมันไม่ใช่คุณไปปรับในappก่อน คุณจะวัดว่าเผาไหม้สมบูรณ์อยู่ที่เท่าไหร่คุณไปวัดที่voltดีกว่า มีค่าระหว่าง2เชื้อเพลิงเหมือนกันรวมเชื้อเพลิงอื่นๆ

คุณ liquidize
ผมงงกับ คุณ จริงๆ เลยครับ
ค่าที่ผมแสดง ให้คุณดู คือ real time monitor ครับ
ไม่ได้ ปรับ บ้า บอ อะไรทั้งสิ้น ครับ วัดจาก ECU มันก็เอามา จาก sensor นั่นละ

14.7 ในทีนี้คือค่า อ้างอิง ของ เบนซิน ซึง ECU รถจะ จ่ายเอทานอล ให้ได้ค่าพลังงาน ออกมาเท่า เบนซิน 14.7 ครับ
จริงๆมันไม่ใช่ 14.7
มีแต่ ECU เท่านั้นที่รู้ ว่าจริงๆ มันเท่าไหร่ มันชดเชย ตาม ปริมาณ % เอทานอลครับ
แต่มันจะบอกมา เป็น 14.7 ดูคำว่า ( Commanded ครับ ) มันคือคำสั่ง ECU
เพราะ รถ FFV มันไม่ได้มีแค่  E85 มันแล้วแต่ผสม ก็ %
แต่ 14.7 คือค่าอ้างอิง เมื่อเทียบกับ เบนซินครับ ไม่งั้นช่างจะ
คุณ จะใช้ E 10 E 15 E20 E 85 รถมันก็จะปรับให้ได้ค่า 14.7 จำลองเบนซิน แต่ความจริงมันไม่ได้จ่าย 14.7 แต่มันก็จะโชว์ 14.7 อยู่
จะเร่ง จะ เท่าไหร่  อัตราส่วน น้ำมัน ต่อ อากาศ มันก็ต้องปรับให้คงที่ ไม่งั้นไฟเอ้นจิ้นก็โชว์ครับ

เตือน ไม่ว่ารถ จะเร่ง มากขึ้นแค่ ไหน อัตรา ส่วน น้ำมันต่ออากาศ ก็ยังต้องคงเดิม
ค่าพลังงาน E0 E10 E20 E80 E85 ECU ของรถ FFV  ก็จะต้องควบคุมให้เท่ากัน ไม่ว่าจะน้ำมันชนิดไหน เพราะไม่ได้จูนตามมือช่าง แต่จ่ายด้วย สมองกล

ผมว่า เราคุยกันไม่รู้เรื่องแล้วละ ขอจบการสนทนาเพียงเท่านี้
จะดิ้น เรื่องความ  ไปฝาสูบ หรือ อะไร ก็ตามแต่คุณแล้ว

ก็บอกอยู่ ว่า รถ ต้อง จ่าย น้ำมัน ต่อ อากาศ ให้เป็นสัดส่วนเท่ากันตลอดไป ตาม ชนิดของน้ำมัน เพื่อให้ได้ค่าพลังงานที่เท่ากัน ยังจะมาบอก ว่า ที่ อากาศ เท่ากันอีก อะไรวะ

กลับไปอ่านข้อความ คุณ  Ji.Cl. ดีกว่า
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 15:57:16 โดย mamaman »

ออฟไลน์ liquidize

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 13
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #17 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 19:40:23 »
เอิ่ม เปิดแอป ไปที่setting ไปตั้งค่าโปรไฟล์ของรถก่อนอ่ะครับ ถ้าไม่ได้ตั้งไว้มันจะกำหนดไว้เป็นเบนซิล

ออฟไลน์ liquidize

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 13
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #18 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 19:57:52 »
คือมันบ่งบอกอารมณ์ทางความคิดมากมายตอบแบบนี้ ที่คุณไม่อ่านให้ดีหรือเข้าใจ คือมีแค่หลักฐาน capจอมาทั้งที ผมอุตส่าบอกว่าคุณยังไม่ตั้งค่า ก่อนจะกดเข้าโหมดrealtime

แน่นอนว่าใช้แอปนี้อยู่รู้จักนะ real time mornitorหนะ แต่ถ้าคุณไม่ตั้งค่าเบื้องต้นเพียงเล็กน้อยให้มันมันก็แสดงค่าแบบนั้น
 ละเพลียใจจริงพิมพ์แบบนี้ บอร์ดรวมคนอ่าน ผมคิดอะไรได้ก็บอกไปเรื่อย ทั้งที่หัวกระทู้คนละเรื่องด้วยซ้ำ ถ้าผมบอกผิดอะไรตรงไหนก็ช่วยกันแย้งสิครับทำงี้ไม่ช่วยอะไร

ออฟไลน์ Ji.Cl.

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 677
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #19 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 21:05:01 »
ลิงค์ที่คุณส่งมาก็บอกอยู่ว่าร้อนกว่า สมการที่คุณให้มาก็ใช้ไม่ได้ไม่ใช่สมการย้อนกลับนะครับ มันเป็นการสันดาปซึ่งจะจุดระเบิดก่อนถึงจะเกิดพลังงาน(KJ) แต่สมการที่คุณว่าคือ น้ำมัน+อากาศที่ยังไม่ได้จุดระเบิดมีค่าออกมาเป็นพลังงานซะแล้ว คำตอบมันก็อยู่ในคำตอบของคุณแล้วว่า การเผาไหม้สมบูรณ์ของเบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ อยู่แล้ว พลังงานออกมาเยอะความร้อนก็เยอะตาม อีกอย่างHHV นะไม่ใช่LHV เพราะการใช้งานปรกติมันมีความร้อนสะสมอยู่ถ้าสตารท์ครั้งแรกตอนเช้าอะถูกต้องใช้ได้ หรือสังเกตุตอนเช้าได้ว่าทำไมสตาท์ช่วงเช้าถึงมีควันไอน้ำออกมา LHVไม่ใช่จุดที่เกิดพลังงานสูงสุดไม่ใช่แค่เป็นเพราะอากาศตอนเช้าหรอก
-เบนซิลอัตราส่วนอยู่ที่ 13.5โดยประมาณ  14.7คือน้ำมันเชื้อเพลิงที่ยังไม่ได้ใส่สารปรุงแต่ง เอทานอล =9.05 ลองเขียนสมการดูได้
-อุณหภูมิไอดีต่ำย่อมเป็นผลดีเพราะมวลอากาศที่เพิ่มขึ้นคู่กับมวลของเอทานอลที่มากกว่าเบนซิลส่งผลให้อัตราเร่งดีขึ้นกว่าเบนซิลแน่นอน ไม่งั้นที่เทสกันในเวลากลางคืนจะดีกว่ากลางวันได้อย่างไร
ก็ยัง งงอีกครั้งครับว่า ท่านไปดูคอลัมน์ใดที่บอกว่าอุณหภูมิเปลวไฟของเอทานอลร้อนกว่าเบนซิน?

*Boiling Temperature คืออุณหภูมิจุดเดือดที่ทำให้ระเหยเป็นไอ "ไม่เกี่ยวกับการเผาไหม้"

*Freezing Temperature คืออุณหภูมิจุดเยือกแข็ง "ไม่เกี่ยวกับการเผาไหม้"

*Flash Point คือจุดวาบไฟ คืออุณหภูมิที่เชื้อเพลิงระเหยขึ้นมาได้ในอัตราส่วนผสมที่เหมาะสมที่จะลุกติดไฟได้อย่าง "ไม่ต่อเนื่อง"
ติดนิดเดียวแล้วดับไป เป็นอุณหภูมิประกายไฟที่จุดเชื้อเพลิงให้วาบ แต่ไม่ได้เกี่ยวกับอุณหภูมิเปลวไฟ เพราะการเผาไหม้จะปล่อยความร้อนเพิ่มจากจุดวาบไฟ

*Autoignition Temperature คืออุณหภูมิต่ำสุดที่เชื้อเพลิงติดไฟได้เอง และลุกไหม้อย่างต่อเนื่อง "โดยไม่ต้องใช้ประกายไฟช่วย"
แต่ก็เช่นกัน มันคืออุณหภูมิของการเริ่มต้นการเผาไหม้ ไม่ใช่อุณหภูมิจากปฏิกิริยาการเผาไหม้
()

ไม่มีคอลัมน์ไหนที่บอกอุณหภูมิเปลวไฟ (อุณหภูมิการเผาไหม้) ซึ่งหากเป็นอุณหภูมิจากการเผาไหม้สมบูรณ์ของการฉีดแบบพอดี

ควรจะเรียกว่า Adiabatic Flame Temperature ซึ่งหากต้องการทราบข้อมูล ให้ดูในลิงก์ที่ผมแนบมานะครับ

http://iqlearningsystems.com/ethanol/downloads/Racing%20Fuel%20Characteristics.pdf

หน้า 2 ย่อหน้าสุดท้าย (Fire Safety) จะมีประโยคหนึ่งเขียนว่า
"The flame temperature for ethanol is lower, 1920°C compared to 2030°C for gasoline"
ซึ่งจะได้ว่าอุณหภูมิสูงสุดที่อาจเกิดได้ในระหว่างการเผาไหม้ของเอทานอลเย็นกว่าเบนซินถึง 110 องศาเซลเซียสครับ

ลิงค์ที่คุณส่งมาก็บอกอยู่ว่าร้อนกว่า สมการที่คุณให้มาก็ใช้ไม่ได้ไม่ใช่สมการย้อนกลับนะครับ มันเป็นการสันดาปซึ่งจะจุดระเบิดก่อนถึงจะเกิดพลังงาน(KJ) แต่สมการที่คุณว่าคือ น้ำมัน+อากาศที่ยังไม่ได้จุดระเบิดมีค่าออกมาเป็นพลังงานซะแล้ว คำตอบมันก็อยู่ในคำตอบของคุณแล้วว่า การเผาไหม้สมบูรณ์ของเบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ อยู่แล้ว พลังงานออกมาเยอะความร้อนก็เยอะตาม อีกอย่างHHV นะไม่ใช่LHV เพราะการใช้งานปรกติมันมีความร้อนสะสมอยู่ถ้าสตารท์ครั้งแรกตอนเช้าอะถูกต้องใช้ได้ หรือสังเกตุตอนเช้าได้ว่าทำไมสตาท์ช่วงเช้าถึงมีควันไอน้ำออกมา LHVไม่ใช่จุดที่เกิดพลังงานสูงสุดไม่ใช่แค่เป็นเพราะอากาศตอนเช้าหรอก
-เบนซิลอัตราส่วนอยู่ที่ 13.5โดยประมาณ  14.7คือน้ำมันเชื้อเพลิงที่ยังไม่ได้ใส่สารปรุงแต่ง เอทานอล =9.05 ลองเขียนสมการดูได้
-อุณหภูมิไอดีต่ำย่อมเป็นผลดีเพราะมวลอากาศที่เพิ่มขึ้นคู่กับมวลของเอทานอลที่มากกว่าเบนซิลส่งผลให้อัตราเร่งดีขึ้นกว่าเบนซิลแน่นอน ไม่งั้นที่เทสกันในเวลากลางคืนจะดีกว่ากลางวันได้อย่างไร
การคายพลังงานจากการฉีดพอดีนั้นมากกว่านั้นเป็นจริงครับ แต่ว่านั่นคือพลังงาน ไม่ใช่อุณหภูมิ
ท่านคงเคยได้ยินสูตรวิทยาศาสตร์จากวิชาเรียนมัธยม ที่อธิบายความสัมพันธ์ของพลังงานกับอุณหภูมิว่า
Q=mc(T2-T1) หรือพลังงาน เท่ากับผลคูณของมวลสาร กับค่าความจุความร้อน และผลต่างอุณหภูมิ

ซึ่ง ตอนนี้เราต้องการทราบผลต่างอุณหภูมิ (T2-T1) เราก็ต้องกลับสูตร เอาพลังงาน หารกลับด้วยมวลไอดี และหารซ้ำด้วยค่าจุความร้อน

ซึ่งผมก็ได้อธิบายไปว่า พลังงานที่มากกว่านั้น ผมคิดจากกรณีที่มาอากาศเท่ากัน ซึ่งเอทานอลต้องฉีดเชื้อเพลิงเข้าผสมมากกว่า ทำให้มวลไอดีมากกว่า

เมื่อจับหารกันแล้ว ผลต่างอุณหภูมิ สามารถน้อยกว่ากันได้ แม้จะปล่อยพลังงานมากกว่าก็ตาม

ส่วนค่าความจุความร้อน ในการคำนวณในโพสต์ผมครั้งที่แล้ว ผมพูดว่า นี่เป็นการเปรียบเทียบหยาบๆ เพราะฉะนั้นผมตีว่าเท่ากันครับ

ซึ่งนี่เป็นแค่การยกตัวอย่างเพื่อสนับสนุนการที่ผมพูดว่าอุณหภูมิเผาไหม้สมบูรณ์ของเอทานอลเย็นกว่าเบนซินในโพสต์ที่แล้วของผม

แต่ในโพสต์นี้ผมได้ยกแหล่งอ้างอิงประกอบไปในย่อหน้าที่แล้วครับ

ถ้าคุณคลิกดาวน์คันเร่งมันไม่มีทางที่จะ14.7เบนซิลได้แน่นอน กำลังสูงสุดที่เขาว่ากันที่12.5ไม่ใช่หรือ
ประโยคนี้ ท่านพูดถูกต้องร้อยเปอร์เซนต์เลยครับ อ้างอิงจากบทความในย่อหน้าแรก ตารางท้ายหน้า 1 มีบอกอยู่

ตรงนี้ผมอาจจะต้องขอความกรุณาท่าน mamaman ทำความเข้าใจใหม่ตรงนี้เล็กน้อยครับ

เครื่องยนต์นั้นไม่จำเป็นต้องรักษาอัตราส่วนผสมให้คงที่ตลอดเวลาการเผาไหม้ครับ อาจจะสามารถปรับบวกลบได้ในย่านค่าหนึ่ง

แม้อัตราส่วนตามทฤษฎีจะอยู่ที่ 14.7 สำหรับเบนซิน แต่จะมีกำลังสูงสุดที่อัตราส่วน 12.5 และประหยัดน้ำมันสูงสุดที่อัตราส่วนประมาณ 17

แต่ถ้าเกินจากย่านนี้ไป เครื่องยนต์อาจจะเริ่มเดินไม่เรียบ และดับได้ เช่นเดียวกับเชื้อเพลิงอื่นๆ ครับ

ดังนั้น การปรับอัตราส่วนเชื้อเพลิงตามความเร็วรอบและตำแหน่งลิ้นปีกผีเสื้อนั้นมีแน่นอนครับ แต่เป็นในช่วงแคบๆ

ลิงค์ที่คุณส่งมาก็บอกอยู่ว่าร้อนกว่า สมการที่คุณให้มาก็ใช้ไม่ได้ไม่ใช่สมการย้อนกลับนะครับ มันเป็นการสันดาปซึ่งจะจุดระเบิดก่อนถึงจะเกิดพลังงาน(KJ) แต่สมการที่คุณว่าคือ น้ำมัน+อากาศที่ยังไม่ได้จุดระเบิดมีค่าออกมาเป็นพลังงานซะแล้ว คำตอบมันก็อยู่ในคำตอบของคุณแล้วว่า การเผาไหม้สมบูรณ์ของเบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ อยู่แล้ว พลังงานออกมาเยอะความร้อนก็เยอะตาม อีกอย่างHHV นะไม่ใช่LHV เพราะการใช้งานปรกติมันมีความร้อนสะสมอยู่ถ้าสตารท์ครั้งแรกตอนเช้าอะถูกต้องใช้ได้ หรือสังเกตุตอนเช้าได้ว่าทำไมสตาท์ช่วงเช้าถึงมีควันไอน้ำออกมา LHVไม่ใช่จุดที่เกิดพลังงานสูงสุดไม่ใช่แค่เป็นเพราะอากาศตอนเช้าหรอก
-เบนซิลอัตราส่วนอยู่ที่ 13.5โดยประมาณ  14.7คือน้ำมันเชื้อเพลิงที่ยังไม่ได้ใส่สารปรุงแต่ง เอทานอล =9.05 ลองเขียนสมการดูได้
-อุณหภูมิไอดีต่ำย่อมเป็นผลดีเพราะมวลอากาศที่เพิ่มขึ้นคู่กับมวลของเอทานอลที่มากกว่าเบนซิลส่งผลให้อัตราเร่งดีขึ้นกว่าเบนซิลแน่นอน ไม่งั้นที่เทสกันในเวลากลางคืนจะดีกว่ากลางวันได้อย่างไร
ตรงนี้ต้องขอความกรุณาท่าน liquidize ทำความเข้าใจใหม่เล็กน้อยนะครับ HHV กับ LHV ไม่ได้แตกต่างกันที่ความร้อนสะสม

ท่านดุลสมการเผาไหม้ได้ ท่านทราบว่าไอเสียจากการเผาไหม้มีน้ำ (H2O) ออกมาด้วย

HHV คือการสมมติให้น้ำในไอเสียมีสถานะเป็นของเหลว

LHV คือการสมมติให้น้ำในไอเสียมีสถานะเป็นไอน้ำ

ซึ่งท่านทราบว่าไอน้ำนั้นมีพลังงานในตัวมากกว่าน้ำเหลว ดังนั้นพลังงานจากการเผาไหม้ส่วนหนึ่งจึงหายไปเพราะถูกดึงไปจากส่วนไอน้ำ

ซึ่งเราไม่เห็นน้ำเป็นหยดไหลออกมาเลย มีแต่ไอน้ำเท่านั้น เราจำเป็นต้องใช้ LHV ในทุกกรณีของการเผาไหม้ในรถทั่วไปครับ

ลิงค์ที่คุณส่งมาก็บอกอยู่ว่าร้อนกว่า สมการที่คุณให้มาก็ใช้ไม่ได้ไม่ใช่สมการย้อนกลับนะครับ มันเป็นการสันดาปซึ่งจะจุดระเบิดก่อนถึงจะเกิดพลังงาน(KJ) แต่สมการที่คุณว่าคือ น้ำมัน+อากาศที่ยังไม่ได้จุดระเบิดมีค่าออกมาเป็นพลังงานซะแล้ว คำตอบมันก็อยู่ในคำตอบของคุณแล้วว่า การเผาไหม้สมบูรณ์ของเบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ อยู่แล้ว พลังงานออกมาเยอะความร้อนก็เยอะตาม อีกอย่างHHV นะไม่ใช่LHV เพราะการใช้งานปรกติมันมีความร้อนสะสมอยู่ถ้าสตารท์ครั้งแรกตอนเช้าอะถูกต้องใช้ได้ หรือสังเกตุตอนเช้าได้ว่าทำไมสตาท์ช่วงเช้าถึงมีควันไอน้ำออกมา LHVไม่ใช่จุดที่เกิดพลังงานสูงสุดไม่ใช่แค่เป็นเพราะอากาศตอนเช้าหรอก
-เบนซิลอัตราส่วนอยู่ที่ 13.5โดยประมาณ  14.7คือน้ำมันเชื้อเพลิงที่ยังไม่ได้ใส่สารปรุงแต่ง เอทานอล =9.05 ลองเขียนสมการดูได้
-อุณหภูมิไอดีต่ำย่อมเป็นผลดีเพราะมวลอากาศที่เพิ่มขึ้นคู่กับมวลของเอทานอลที่มากกว่าเบนซิลส่งผลให้อัตราเร่งดีขึ้นกว่าเบนซิลแน่นอน ไม่งั้นที่เทสกันในเวลากลางคืนจะดีกว่ากลางวันได้อย่างไร
ข้อนี้ไม่มีข้อมูลนะครับ เดี๋ยวจะลองหาข้อมูลอีกที หรือถ้าท่านมีแหล่งข้อมูลให้ศึกษาเพิ่มก็จะขอบคุณมากครับ

ลิงค์ที่คุณส่งมาก็บอกอยู่ว่าร้อนกว่า สมการที่คุณให้มาก็ใช้ไม่ได้ไม่ใช่สมการย้อนกลับนะครับ มันเป็นการสันดาปซึ่งจะจุดระเบิดก่อนถึงจะเกิดพลังงาน(KJ) แต่สมการที่คุณว่าคือ น้ำมัน+อากาศที่ยังไม่ได้จุดระเบิดมีค่าออกมาเป็นพลังงานซะแล้ว คำตอบมันก็อยู่ในคำตอบของคุณแล้วว่า การเผาไหม้สมบูรณ์ของเบนซิน สามารถให้พลังงาน 43.448 kJ เอทานอล ให้พลังงาน 1.6333x26.952 = 44.022kJ อยู่แล้ว พลังงานออกมาเยอะความร้อนก็เยอะตาม อีกอย่างHHV นะไม่ใช่LHV เพราะการใช้งานปรกติมันมีความร้อนสะสมอยู่ถ้าสตารท์ครั้งแรกตอนเช้าอะถูกต้องใช้ได้ หรือสังเกตุตอนเช้าได้ว่าทำไมสตาท์ช่วงเช้าถึงมีควันไอน้ำออกมา LHVไม่ใช่จุดที่เกิดพลังงานสูงสุดไม่ใช่แค่เป็นเพราะอากาศตอนเช้าหรอก
-เบนซิลอัตราส่วนอยู่ที่ 13.5โดยประมาณ  14.7คือน้ำมันเชื้อเพลิงที่ยังไม่ได้ใส่สารปรุงแต่ง เอทานอล =9.05 ลองเขียนสมการดูได้
-อุณหภูมิไอดีต่ำย่อมเป็นผลดีเพราะมวลอากาศที่เพิ่มขึ้นคู่กับมวลของเอทานอลที่มากกว่าเบนซิลส่งผลให้อัตราเร่งดีขึ้นกว่าเบนซิลแน่นอน ไม่งั้นที่เทสกันในเวลากลางคืนจะดีกว่ากลางวันได้อย่างไร
อันนี้ท่านพูดถูกครับ ซึ่งผมก็ได้พูดไว้ในโพสต์ก่อนแล้วนะครับ ว่าเอทานอลช่วยให้อุณหภูมิไอดีต่ำลง ณ ตอนนี้ ท่านกับผมเข้าใจตรงกันนะครับ

ออฟไลน์ mamaman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 6,418
    • อีเมล์
Re: เกี่ยวกับ เอทานอล
« ตอบกลับ #20 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 21:27:39 »
คือมันบ่งบอกอารมณ์ทางความคิดมากมายตอบแบบนี้ ที่คุณไม่อ่านให้ดีหรือเข้าใจ คือมีแค่หลักฐาน capจอมาทั้งที ผมอุตส่าบอกว่าคุณยังไม่ตั้งค่า ก่อนจะกดเข้าโหมดrealtime

แน่นอนว่าใช้แอปนี้อยู่รู้จักนะ real time mornitorหนะ แต่ถ้าคุณไม่ตั้งค่าเบื้องต้นเพียงเล็กน้อยให้มันมันก็แสดงค่าแบบนั้น
 ละเพลียใจจริงพิมพ์แบบนี้ บอร์ดรวมคนอ่าน ผมคิดอะไรได้ก็บอกไปเรื่อย ทั้งที่หัวกระทู้คนละเรื่องด้วยซ้ำ ถ้าผมบอกผิดอะไรตรงไหนก็ช่วยกันแย้งสิครับทำงี้ไม่ช่วยอะไร

OK ครับผมผิด ๆ  
ขอไปตั้งสติก่อน
ขอโทษๆ ด้วยครับ
อย่าถือสา หาความกับการพิมพ์เลยครับ แฮะๆ

ว่าแต่ข้อเดียวที่ คา ใจ คือ ค่าความร้อนของเอทานอล ยังไงก็ยังเชื่อว่า มันเย็นกว่าเบนซิน ตามหลักการของ คุณ  Ji.Cl.
ที่เหลือก็ตามนั้นละ ตรงกันแล้ว
เพราะเรา คุยกัน สภาวะปกติของรถ ไม่ได้คุยสภาวะไม่ปกติ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กุมภาพันธ์ 14, 2015, 21:33:28 โดย mamaman »