ผู้เขียน หัวข้อ: เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี  (อ่าน 51590 ครั้ง)

ออฟไลน์ watmung

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 72
คันแรก Accord  ใช้เงินสด 50% ของที่มีซื้อครับ. แล้วมีช่วงที่รายได้ลด ต้องเอาเงินเก็บมาใช้ รู้สึกไม่โอเครเลยครับ

ความคิดที่ว่ารถ มันกินไม่ได้ วิ่งเช้ามาเลย แล้วราคาก็ร่วงไปเยอะเลย จากวันที่ซื้อ

คันต่อไปจะไปรถยุโรป ตั้งใจว่าต้องใช้เงินไม่เกิน 10% ของเงินสดที่มีครับ

ถ้าทำไม่ได้ก็ ขับ Accord ยันแก่เลยครับ  ;D ;D ;D. (ตอนนี้อายุ 30)
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 07, 2020, 09:11:08 โดย watmung »
2023 - Mercedes-Benz E 220d AMG Sport (Facelift)
2017 - Honda Accord 2.0 EL i-VTEC Sedan AT

ออฟไลน์ D Water Law

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 292
เป็นผมจะคิดอีกมิตินึงครับ  เพราะถ้าคิดคนละมิติ  การตัดสินใจก็จะต่างกันไปคนละแบบเลยครับ

 ผมคิดว่ารถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ครับ  มันควรจะอยู่ในหมวดค่าใช้จ่าย  ดังนั้นควรจะคิดในแง่ว่าเราจะให้ค่าใช้จ่ายทางด้านรถยนต์เป็นกี่เปอร์เซนต์ของรายได้       เช่น เป็นข้าราชการเงินเดือน 15000 บาท แล้วได้มรดกมาเป็นที่ดิน 100 ไร่ แต่ ไม่สามารถหาประโยชน์หรือรายได้จากที่ดินนั้นได้เลย  การตัดสินใจซื้อรถก็ควรอ้างอิงตามฐานรายได้เท่าที่มีครับ

รายได้ 100% ก็อาจจะจัดสรรกับสิ่งที่จำเป็นตามลำดับ เช่น
- อาหาร
- ที่อยู่อาศัย
- การเดินทาง (ซื้อรถเท่าที่จำเป็น เช่น รถมือสอง / Eco car หรือ ใช้ขนส่งสาธารณะ)
- การศึกษา (ในช่วงชีวิตที่เพิ่งจบใหม่ๆ)
- การลงทุน/การออม (15-25% ของรายได้  แล้วแต่ช่วงเวลาของชีวิต)  --> แล้วเงินปันผล ค่าเช่าที่ได้ จะมาเพิ่มรายได้ในอนาคตครับ

จากนั้นแล้วเหลือเท่าไร ค่อยไปจัดสรรให้กับค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยอื่นๆ เช่น รถยุโรป การท่องเที่ยว เครื่องเสียง สินค้าแบรนด์เนมอื่นๆ ครับ


ผมเป็นสายสมดุลระหว่างความมั่นคงและความสุขครับ
ทรัพย์สินและรายได้ที่ได้จากการลงทุนถือเป็นเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างความมั่นคงในชีวิต  แต่ก็ต้องจัดสรรค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์ เครื่องเสียง การท่องเที่ยว เพื่อตอบสนองความสุขในชีวิตด้วยครับ




« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 07, 2020, 10:05:33 โดย kittik25 »

ออฟไลน์ bennieT8

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 644
    • อีเมล์
ผมว่าแต่ละคนเกณฑ์คงต่างกัน  ส่วนตัวผมเองต้องมีเงินเก็บตอนเกษียณ  รวมค่าใช้จ่ายทั้งครอบครัว,สุขภาพ,ท่องเที่ยวได้แบบสบายๆให้พอแบบเหลือๆก่อน  และกฎเหล็กต้องไม่เป็นหนี้เลย  รถทุกคันซื้อเงินสดหมด จนคันสุดท้ายนี่ถึงยอมผ่อนเพราะได้ดอกเบี้ย 0% และสามารถเอาเงินก้อนไปหารายได้เพิ่มมามากกว่าค่าผ่อนรถ  อีกอย่างพอแก่ตัวแล้วอยากเลือกรถดีๆและปลอดภัยมาใช้  ถือเป็นรางวัลชีวิตให้ตัวเองด้วย

ออฟไลน์ +@ Krishna @+

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5,295
  • *_* รถที่ดี คือ รถที่ใช้แล้วมีความสุข ^_^
ผมทรัพย์สินไม่เยอะ 
มันขึ้นอยู่กับ เราพอใจผ่อนไหวมั้ย ไม่ได้คำนวณอะไรซับซ้อน
ตั้งยอดรถไว้ในใจ ค่างวดผ่อนไหว สบาย ก็จัดเลยครับ
ค่าผ่อนรถต่อเดือนไม่ควรเกิน 20% +- ของรายได้ต่อเดือน

ผมสำคัญที่เงินดาว์นครับ
หลัง ๆ ดาว์น 50 %  (ไม่ต้องลำบากหาคนค้ำ)
ผ่อนไม่เกิน 48 เดือน  :-*

ออฟไลน์ pim_cute

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 308
เป็นผมจะคิดอีกมิตินึงครับ  เพราะถ้าคิดคนละมิติ  การตัดสินใจก็จะต่างกันไปคนละแบบเลยครับ

 ผมคิดว่ารถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ครับ  มันควรจะอยู่ในหมวดค่าใช้จ่าย  ดังนั้นควรจะคิดในแง่ว่าเราจะให้ค่าใช้จ่ายทางด้านรถยนต์เป็นกี่เปอร์เซนต์ของรายได้       เช่น เป็นข้าราชการเงินเดือน 15000 บาท แล้วได้มรดกมาเป็นที่ดิน 100 ไร่ แต่ ไม่สามารถหาประโยชน์หรือรายได้จากที่ดินนั้นได้เลย  การตัดสินใจซื้อรถก็ควรอ้างอิงตามฐานรายได้เท่าที่มีครับ

รายได้ 100% ก็อาจจะจัดสรรกับสิ่งที่จำเป็นตามลำดับ เช่น
- อาหาร
- ที่อยู่อาศัย
- การเดินทาง (ซื้อรถเท่าที่จำเป็น เช่น รถมือสอง / Eco car หรือ ใช้ขนส่งสาธารณะ)
- การศึกษา (ในช่วงชีวิตที่เพิ่งจบใหม่ๆ)
- การลงทุน/การออม (15-25% ของรายได้  แล้วแต่ช่วงเวลาของชีวิต)  --> แล้วเงินปันผล ค่าเช่าที่ได้ จะมาเพิ่มรายได้ในอนาคตครับ

จากนั้นแล้วเหลือเท่าไร ค่อยไปจัดสรรให้กับค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยอื่นๆ เช่น รถยุโรป การท่องเที่ยว เครื่องเสียง สินค้าแบรนด์เนมอื่นๆ ครับ


ผมเป็นสายสมดุลระหว่างความมั่นคงและความสุขครับ
ทรัพย์สินและรายได้ที่ได้จากการลงทุนถือเป็นเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างความมั่นคงในชีวิต  แต่ก็ต้องจัดสรรค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์ เครื่องเสียง การท่องเที่ยว เพื่อตอบสนองความสุขในชีวิตด้วยครับ
มันไม่ใช่อีกมิติหรอกครับ มันผิดเลยละ รถยนยนต์ยังไงก็เป็นสินทรัพย์ครับ เพียงแต่คุณต้องมีความรู้พื้นฐานทางบัญชีและการเงินในการอธิบายมัน ผมว่าคิดต่างมันก็ดีแต่ถึงขั้นผิดเพี้ยนจากมาตรฐานที่มีเดิมดีอยู่แล้ว

อธิบายแบบนี้ รถยนต์เป็นสินทรัพย์ แต่ทำไมคุณถึงมองเป็นค่าใช้จ่าย เพราะมันเป็นสินทรัพย์ที่ด้อยค่า ทางบัญชีจะมีค่าเสื่อมราคาซึ่งตรงนี้ต่างหากที่เป็นค่าใช้จ่าย แล้วการจะดูว่าสินทรัพย์ตัวนี้มีมูลค่าเท่าไร ก็เอาไปหักค่าเสื่อมราคาสะสม ผมว่าความรู้ของเดิมเขาดี ละเอียดอยู่แล้วนะครับ ไปคิดให้มันผิดเพี้ยนทำไม?

แล้วก็อย่าพึ่งไปเรื่องการลงทุน ถ้าความรู้พื้นฐานผิด เดี๋ยวมันจะยิ่งผิดไปกันใหญ่ครับ ความรู้มันมีอยู่แล้วครับ อยู่ที่คุณจะศึกษามันหรือไม่ การคิดไปเองมันเป็น bias อย่างนึง ถ้าเป็นความเห็นไม่มีผิดถูก แต่กรณีนี้มันชัดครับว่าคุณผิดเพี้ยนจากความรู้ทางการเงิน

ออฟไลน์ D Water Law

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 292
เป็นผมจะคิดอีกมิตินึงครับ  เพราะถ้าคิดคนละมิติ  การตัดสินใจก็จะต่างกันไปคนละแบบเลยครับ

 ผมคิดว่ารถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ครับ  มันควรจะอยู่ในหมวดค่าใช้จ่าย  ดังนั้นควรจะคิดในแง่ว่าเราจะให้ค่าใช้จ่ายทางด้านรถยนต์เป็นกี่เปอร์เซนต์ของรายได้       เช่น เป็นข้าราชการเงินเดือน 15000 บาท แล้วได้มรดกมาเป็นที่ดิน 100 ไร่ แต่ ไม่สามารถหาประโยชน์หรือรายได้จากที่ดินนั้นได้เลย  การตัดสินใจซื้อรถก็ควรอ้างอิงตามฐานรายได้เท่าที่มีครับ

รายได้ 100% ก็อาจจะจัดสรรกับสิ่งที่จำเป็นตามลำดับ เช่น
- อาหาร
- ที่อยู่อาศัย
- การเดินทาง (ซื้อรถเท่าที่จำเป็น เช่น รถมือสอง / Eco car หรือ ใช้ขนส่งสาธารณะ)
- การศึกษา (ในช่วงชีวิตที่เพิ่งจบใหม่ๆ)
- การลงทุน/การออม (15-25% ของรายได้  แล้วแต่ช่วงเวลาของชีวิต)  --> แล้วเงินปันผล ค่าเช่าที่ได้ จะมาเพิ่มรายได้ในอนาคตครับ

จากนั้นแล้วเหลือเท่าไร ค่อยไปจัดสรรให้กับค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยอื่นๆ เช่น รถยุโรป การท่องเที่ยว เครื่องเสียง สินค้าแบรนด์เนมอื่นๆ ครับ


ผมเป็นสายสมดุลระหว่างความมั่นคงและความสุขครับ
ทรัพย์สินและรายได้ที่ได้จากการลงทุนถือเป็นเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างความมั่นคงในชีวิต  แต่ก็ต้องจัดสรรค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์ เครื่องเสียง การท่องเที่ยว เพื่อตอบสนองความสุขในชีวิตด้วยครับ
มันไม่ใช่อีกมิติหรอกครับ มันผิดเลยละ รถยนยนต์ยังไงก็เป็นสินทรัพย์ครับ เพียงแต่คุณต้องมีความรู้พื้นฐานทางบัญชีและการเงินในการอธิบายมัน ผมว่าคิดต่างมันก็ดีแต่ถึงขั้นผิดเพี้ยนจากมาตรฐานที่มีเดิมดีอยู่แล้ว

อธิบายแบบนี้ รถยนต์เป็นสินทรัพย์ แต่ทำไมคุณถึงมองเป็นค่าใช้จ่าย เพราะมันเป็นสินทรัพย์ที่ด้อยค่า ทางบัญชีจะมีค่าเสื่อมราคาซึ่งตรงนี้ต่างหากที่เป็นค่าใช้จ่าย แล้วการจะดูว่าสินทรัพย์ตัวนี้มีมูลค่าเท่าไร ก็เอาไปหักค่าเสื่อมราคาสะสม ผมว่าความรู้ของเดิมเขาดี ละเอียดอยู่แล้วนะครับ ไปคิดให้มันผิดเพี้ยนทำไม?

แล้วก็อย่าพึ่งไปเรื่องการลงทุน ถ้าความรู้พื้นฐานผิด เดี๋ยวมันจะยิ่งผิดไปกันใหญ่ครับ ความรู้มันมีอยู่แล้วครับ อยู่ที่คุณจะศึกษามันหรือไม่ การคิดไปเองมันเป็น bias อย่างนึง ถ้าเป็นความเห็นไม่มีผิดถูก แต่กรณีนี้มันชัดครับว่าคุณผิดเพี้ยนจากความรู้ทางการเงิน

มาตรฐานบัญชีผมเข้าใจหมดนะ ถ้าจะพูดถึงมาตรฐานบัญชี คุณเรียนมาคงทราบอยู่แล้วว่า สาเหตุที่ทางบัญชีที่เค้าต้องลงเป็นสินทรัพย์ เนื่องจากมันไม่ใช่ของที่ใช้หมดไปในปีเดียว มันมีอายุการใช้งานหลายปี จึงมีการลงไว้เป็นสินทรัพย์และทยอยตัดค่าเสื่อม 5-10 ปี  เหตุผลหลักคือเพื่อให้งบกำไรขาดทุนมันสะท้อนผลการดำเนินงานในปีนั้นๆ


ส่วนที่ผมเสนอคือให้มองในมิติของการลงทุน  อย่าไปมองในมิติทางด้านการลงบัญชี   แต่ไม่ได้ลงรายละเอียดมากนักก็เพราะเข้าใจว่าหลายๆ ท่านในที่นี้อาจจะไม่ได้เรียนทางบัญชีมา จะเยิ่นเย้อเสียเปล่าๆ

ในมุมมองการลงทุน คำว่า "สินทรัพย์"  เราจะมุ่งเน้นไปเฉพาะสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้   หากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่ก่อรายได้ ปกติเราจะพิจารณาเป็นค่าใช้จ่าย  (ส่วนมาตรฐานบัญชีจะลงบัญชีอย่างไรก็อีกส่วนหนึ่ง เป็นความถูกต้องทางด้านบัญชี แต่มันคนละด้านกับการตัดสินใจลงทุน)  ยกตัวอย่าง เช่น

-  ถ้าบริษัทจะตัดสินใจทำโครงการ A  เราจะดูว่าโครงการ A ต้องใช้เงินลงทุนเท่าไร คืนทุนในกี่ปี  irr เท่าไร  วิเคราะห์ sensitivity ในแต่ละ Scenario   (CFO จะมองเงินที่ลงทุนในโครงการ A ทั้งหมดเป็น Capital Expediture แต่พนักงานบัญชีจะลงบัญชีตามมาตรฐานบัญชี เช่น  ค่าเงินเดือน ค่าประชาสัมพันธ์ในโครงการ เค้าจะตัดจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายรายปี)

- ถ้าบริษัทจะตัดสินใจจะซื้อรถประจำตำแหน่ง ให้ผู้บริหาร 1 คัน  (CFO จะมองค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับตัวรถ ตลอดจนค่าซ่อม ค่าน้ำมัน เป็นค่าใช้จ่ายระยะยาวของบริษัท  แต่พนักงานบัญชีจะลงบัญชีมูลค่ารถยนต์เป็นสินทรัพย์แล้วทยอยตัดค่าเสื่อมก็ว่ากันไป)

โดยการใช้งานของบุคคลทั่วไปแล้ว ผมจึงเสนอให้มิติมุมมองของการซื้อรถยนต์ส่วนตัวเป็นมิติของค่าใช้จ่าย  โดยที่ผมยังมีความเข้าใจในมิติมุมมองของนักบัญชีอยู่ เพียงแต่ผมเลือกมุมมองที่จะดึงเอาความรู้ที่มีมาใช้ให้ถูกกับบริบทที่เราจะใช้ในการตัดสินใจ  เพื่อการตัดสินใจที่เหมาะสม     การนำความรู้ที่ร่ำเรียนมาใช้ตามตำราเป๊ะๆ  แต่เอาไปใช้กับบริบทที่ไม่เหมาะสมก็ถือเป็นความไม่รู้อย่างนึงนะครับ   ในเรื่องของมุมมองนี้ผมยังเห็นว่าการที่บางท่านใช้มุมมองในมิติของ Cash Flow คือมีเงินดาวน์กี่เปอร์เซนต์ และเงินที่ผ่อนต่อเดือนคิดเป็นกี่เปอร์เซนต์ของรายได้ ผมก็ยังถือว่าเป็นมิติที่เหมาะสมกับการตัดสินใจ มากกว่าการใช้มุมมองที่ตั้งงบเป็นเปอร์เซนต์ของสินทรัพย์อีกนะครับ

มาตรฐานบัญชีบอกให้ลงรถยนต์เป็นสินทรัพย์ แต่การตัดสินใจซื้อรถยนต์ส่วนตัวซึ่งไม่ก่อให้เกิดรายได้เป็นมุมมองของค่าใช้จ่ายครับ แต่จะคำนวณเป็นค่าใช้อย่างไรก็อีกเรื่องหนึ่ง แล้วแต่วิถีของการใช้รถยนต์ของแต่ละบุคคล ซึ่งส่วนใหญ่เลยไม่ได้คิดแบบค่าเสื่อมราคาตามมาตรฐานบัญชีแน่ๆ ครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 07, 2020, 16:21:34 โดย kittik25 »

ออฟไลน์ Sympho

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 996
ตอนนี้อายุ 30 ต้นๆ รายได้หลัก+เสริม 50k-60k งานมั่นคงพอสมควร เงินออมประมาณ 20%

ถ้าให้ซื้อรถ รวมกับค่างวดที่ผ่อนบ้านแล้วต้องไม่เกิน 50% ครับ ซึ่งตอนนี้ยังไม่พร้อม เนื่องจากติดบ้านอยู่ 2 หลัง ;D

รอรายได้เพิ่มอีก 2-3 หมื่นนั่นหละครับ ถึงเวลานั้นค่อยจัด 

ปล. Revo บริษัทผมมองเป็นค่าใช้จ่าย (ก็เช่าเอา แต่ถึงจะซื้อก็หลักการเดียวกัน) แต่ถ้ามีรถพวก R34 GTR แท้ๆ จอดในโรงรถติดแอร์ที่บ้าน ผมก็คงมองเป็นสินทรัพย์ ทั้งๆที่มันก็รถเหมือนกัน

ออฟไลน์ pim_cute

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 308
เป็นผมจะคิดอีกมิตินึงครับ  เพราะถ้าคิดคนละมิติ  การตัดสินใจก็จะต่างกันไปคนละแบบเลยครับ

 ผมคิดว่ารถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ครับ  มันควรจะอยู่ในหมวดค่าใช้จ่าย  ดังนั้นควรจะคิดในแง่ว่าเราจะให้ค่าใช้จ่ายทางด้านรถยนต์เป็นกี่เปอร์เซนต์ของรายได้       เช่น เป็นข้าราชการเงินเดือน 15000 บาท แล้วได้มรดกมาเป็นที่ดิน 100 ไร่ แต่ ไม่สามารถหาประโยชน์หรือรายได้จากที่ดินนั้นได้เลย  การตัดสินใจซื้อรถก็ควรอ้างอิงตามฐานรายได้เท่าที่มีครับ

รายได้ 100% ก็อาจจะจัดสรรกับสิ่งที่จำเป็นตามลำดับ เช่น
- อาหาร
- ที่อยู่อาศัย
- การเดินทาง (ซื้อรถเท่าที่จำเป็น เช่น รถมือสอง / Eco car หรือ ใช้ขนส่งสาธารณะ)
- การศึกษา (ในช่วงชีวิตที่เพิ่งจบใหม่ๆ)
- การลงทุน/การออม (15-25% ของรายได้  แล้วแต่ช่วงเวลาของชีวิต)  --> แล้วเงินปันผล ค่าเช่าที่ได้ จะมาเพิ่มรายได้ในอนาคตครับ

จากนั้นแล้วเหลือเท่าไร ค่อยไปจัดสรรให้กับค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยอื่นๆ เช่น รถยุโรป การท่องเที่ยว เครื่องเสียง สินค้าแบรนด์เนมอื่นๆ ครับ


ผมเป็นสายสมดุลระหว่างความมั่นคงและความสุขครับ
ทรัพย์สินและรายได้ที่ได้จากการลงทุนถือเป็นเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างความมั่นคงในชีวิต  แต่ก็ต้องจัดสรรค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์ เครื่องเสียง การท่องเที่ยว เพื่อตอบสนองความสุขในชีวิตด้วยครับ
มันไม่ใช่อีกมิติหรอกครับ มันผิดเลยละ รถยนยนต์ยังไงก็เป็นสินทรัพย์ครับ เพียงแต่คุณต้องมีความรู้พื้นฐานทางบัญชีและการเงินในการอธิบายมัน ผมว่าคิดต่างมันก็ดีแต่ถึงขั้นผิดเพี้ยนจากมาตรฐานที่มีเดิมดีอยู่แล้ว

อธิบายแบบนี้ รถยนต์เป็นสินทรัพย์ แต่ทำไมคุณถึงมองเป็นค่าใช้จ่าย เพราะมันเป็นสินทรัพย์ที่ด้อยค่า ทางบัญชีจะมีค่าเสื่อมราคาซึ่งตรงนี้ต่างหากที่เป็นค่าใช้จ่าย แล้วการจะดูว่าสินทรัพย์ตัวนี้มีมูลค่าเท่าไร ก็เอาไปหักค่าเสื่อมราคาสะสม ผมว่าความรู้ของเดิมเขาดี ละเอียดอยู่แล้วนะครับ ไปคิดให้มันผิดเพี้ยนทำไม?

แล้วก็อย่าพึ่งไปเรื่องการลงทุน ถ้าความรู้พื้นฐานผิด เดี๋ยวมันจะยิ่งผิดไปกันใหญ่ครับ ความรู้มันมีอยู่แล้วครับ อยู่ที่คุณจะศึกษามันหรือไม่ การคิดไปเองมันเป็น bias อย่างนึง ถ้าเป็นความเห็นไม่มีผิดถูก แต่กรณีนี้มันชัดครับว่าคุณผิดเพี้ยนจากความรู้ทางการเงิน

มาตรฐานบัญชีผมเข้าใจหมดนะ ถ้าจะพูดถึงมาตรฐานบัญชี คุณเรียนมาคงทราบอยู่แล้วว่า สาเหตุที่ทางบัญชีที่เค้าต้องลงเป็นสินทรัพย์ เนื่องจากมันไม่ใช่ของที่ใช้หมดไปในปีเดียว มันมีอายุการใช้งานหลายปี จึงมีการลงไว้เป็นสินทรัพย์และทยอยตัดค่าเสื่อม 5-10 ปี  เหตุผลหลักคือเพื่อให้งบกำไรขาดทุนมันสะท้อนผลการดำเนินงานในปีนั้นๆ


ส่วนที่ผมเสนอคือให้มองในมิติของการลงทุน  อย่าไปมองในมิติทางด้านการลงบัญชี   แต่ไม่ได้ลงรายละเอียดมากนักก็เพราะเข้าใจว่าหลายๆ ท่านในที่นี้อาจจะไม่ได้เรียนทางบัญชีมา จะเยิ่นเย้อเสียเปล่าๆ

ในมุมมองการลงทุน คำว่า "สินทรัพย์"  เราจะมุ่งเน้นไปเฉพาะสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้   หากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่ก่อรายได้ ปกติเราจะพิจารณาเป็นค่าใช้จ่าย  (ส่วนมาตรฐานบัญชีจะลงบัญชีอย่างไรก็อีกส่วนหนึ่ง เป็นความถูกต้องทางด้านบัญชี แต่มันคนละด้านกับการตัดสินใจลงทุน)  ยกตัวอย่าง เช่น

-  ถ้าบริษัทจะตัดสินใจทำโครงการ A  เราจะดูว่าโครงการ A ต้องใช้เงินลงทุนเท่าไร คืนทุนในกี่ปี  irr เท่าไร  วิเคราะห์ sensitivity ในแต่ละ Scenario   (CFO จะมองเงินที่ลงทุนในโครงการ A ทั้งหมดเป็น Capital Expediture แต่พนักงานบัญชีจะลงบัญชีตามมาตรฐานบัญชี เช่น  ค่าเงินเดือน ค่าประชาสัมพันธ์ในโครงการ เค้าจะตัดจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายรายปี)

- ถ้าบริษัทจะตัดสินใจจะซื้อรถประจำตำแหน่ง ให้ผู้บริหาร 1 คัน  (CFO จะมองค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับตัวรถ ตลอดจนค่าซ่อม ค่าน้ำมัน เป็นค่าใช้จ่ายระยะยาวของบริษัท  แต่พนักงานบัญชีจะลงบัญชีมูลค่ารถยนต์เป็นสินทรัพย์แล้วทยอยตัดค่าเสื่อมก็ว่ากันไป)

โดยการใช้งานของบุคคลทั่วไปแล้ว ผมจึงเสนอให้มิติมุมมองของการซื้อรถยนต์ส่วนตัวเป็นมิติของค่าใช้จ่าย  โดยที่ผมยังมีความเข้าใจในมิติมุมมองของนักบัญชีอยู่ เพียงแต่ผมเลือกมุมมองที่จะดึงเอาความรู้ที่มีมาใช้ให้ถูกกับบริบทที่เราจะใช้ในการตัดสินใจ     การนำความรู้ที่ร่ำเรียนมาเอาไปใช้กับบริบทที่ไม่ถูกต้องก็ถือเป็นความไม่รู้อย่างนึงนะครับ

มาตรฐานบัญชีบอกให้ลงรถยนต์เป็นสินทรัพย์ แต่การตัดสินใจซื้อรถยนต์ส่วนตัวซึ่งไม่ก่อให้เกิดรายได้เป็นมุมมองของค่าใช้จ่ายครับ แต่จะคำนวณเป็นค่าใช้อย่างไรก็อีกเรื่องหนึ่ง แล้วแต่วิถีของการใช้รถยนต์ของแต่ละบุคคล ซึ่งส่วนใหญ่เลยไม่ได้คิดแบบค่าเสื่อมราคาตามมาตรฐานบัญชีแน่ๆ ครับ
ใช่ครับวิธีการคิดค่าเสื่อมนั้นมีข้อด้อย เพราะการคิดค่าเสื่อมทางบัญชีนั้นมีหลายวิธีแล้วแต่เลือกใช้ แต่สำหรับรถยนต์หากใช้ตัดเป็นแบบ exponential มันก็จะใกล้เคียงที่สุด แต่ไม่มีใครเขาทำกัน

ส่วนวิธีคิดของคุณมันมีข้อด้อยอย่างมาก คือการคิดว่ารถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นบอกอะไรไม่ได้มากไปกว่าเงินที่จ่ายออกไป คุณจะเห็นว่าทำไมตลาดหลักทรัพย์ถึงพร่ำสอนให้คนทั่วไปทำบัญชีส่วนตัวอย่างง่ายๆ เพื่อนำความรู้ทางการเงินมาประยุกต์ใช้กับตรงที่คุณคิดนี่แหละ ดังนั้นการมองตามหลักบัญชีนั้นถ้านำมาประยุกต์ใช้มีประโยชน์กว่าแน่นอน คุณจะเห็นมูลค่าปัจจุบันรถยนต์ของคุณ(ค่าซากโดยประมาณ) คุณจะเห็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละปี แยกได้ว่าค่าใช้จ่ายนั้นเกิดจากการด้อยค่า หรือการบำรุงรักษา แล้วคุณก็ต้องเข้าใจข้อด้อยของการคิดค่าเสื่อม ดีกว่าการมัดรวมเป็นค่าใช้จ่ายครับ

อะไรที่ของเดิมดีอยู่แล้วก็นามาประยุกต์ใช้ครับ การที่คุณมองสิ่งต่างๆ ไม่เหมือน ใช้ไม่ได้ ผมบอกเลยนักการเงินนั้นจะพยายามมองให้เหมือนกัน แล้วนำมาประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะเรื่องการลงทุน คุณเชื่อไหมว่าการคิดมูลค่าหุ้น มูลค่าตราสารหนี้ มูลค่า asset back security หรือสินทรัพย์อื่นๆ อีกมากมาย ต้นตอมาจากวิธีเดียวกันหมด ส่วนเรื่องที่คุณพูดถึง irr sensitivity scenario หรือแม้แต่ capex เป็นการเงินในเชิงบริหาร(แปลความแล้วนำมาใช้ แต่ไม่ได้เจาะลึกไปถึงที่มาว่าทำไมจึงคิดแบบนั้น) ผมกลับมองว่าการมองรถยนต์ให้เป็นสินทรัพย์ คุณจะเห็นค่าเสื่อม มูลค่าปัจจุบัน สินทรัพย์นี้มาจากหนี้ หรือทุน ในการตัดสินใจมีประโยชน์มากกว่าไหม โดยที่คุณเข้าใจข้อด้อยของค่าเสื่อม

การนำรถยนต์ไปไว้ในรายการค่าใช้จ่าย หากทำบัญชีส่วนตัว คุณจะไม่เห็นอะไรเลย นอกจากเงินที่เสียไป แถมยังผิดหลักบัญชีอีกด้วย ทำไมถึงไม่นำความรู้มาประยุกต์ใช้ จะมีประโยชน์มากกว่า
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 07, 2020, 16:25:37 โดย pim_cute »

ออฟไลน์ D Water Law

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 292
เป็นผมจะคิดอีกมิตินึงครับ  เพราะถ้าคิดคนละมิติ  การตัดสินใจก็จะต่างกันไปคนละแบบเลยครับ

 ผมคิดว่ารถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ครับ  มันควรจะอยู่ในหมวดค่าใช้จ่าย  ดังนั้นควรจะคิดในแง่ว่าเราจะให้ค่าใช้จ่ายทางด้านรถยนต์เป็นกี่เปอร์เซนต์ของรายได้       เช่น เป็นข้าราชการเงินเดือน 15000 บาท แล้วได้มรดกมาเป็นที่ดิน 100 ไร่ แต่ ไม่สามารถหาประโยชน์หรือรายได้จากที่ดินนั้นได้เลย  การตัดสินใจซื้อรถก็ควรอ้างอิงตามฐานรายได้เท่าที่มีครับ

รายได้ 100% ก็อาจจะจัดสรรกับสิ่งที่จำเป็นตามลำดับ เช่น
- อาหาร
- ที่อยู่อาศัย
- การเดินทาง (ซื้อรถเท่าที่จำเป็น เช่น รถมือสอง / Eco car หรือ ใช้ขนส่งสาธารณะ)
- การศึกษา (ในช่วงชีวิตที่เพิ่งจบใหม่ๆ)
- การลงทุน/การออม (15-25% ของรายได้  แล้วแต่ช่วงเวลาของชีวิต)  --> แล้วเงินปันผล ค่าเช่าที่ได้ จะมาเพิ่มรายได้ในอนาคตครับ

จากนั้นแล้วเหลือเท่าไร ค่อยไปจัดสรรให้กับค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยอื่นๆ เช่น รถยุโรป การท่องเที่ยว เครื่องเสียง สินค้าแบรนด์เนมอื่นๆ ครับ


ผมเป็นสายสมดุลระหว่างความมั่นคงและความสุขครับ
ทรัพย์สินและรายได้ที่ได้จากการลงทุนถือเป็นเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างความมั่นคงในชีวิต  แต่ก็ต้องจัดสรรค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์ เครื่องเสียง การท่องเที่ยว เพื่อตอบสนองความสุขในชีวิตด้วยครับ
มันไม่ใช่อีกมิติหรอกครับ มันผิดเลยละ รถยนยนต์ยังไงก็เป็นสินทรัพย์ครับ เพียงแต่คุณต้องมีความรู้พื้นฐานทางบัญชีและการเงินในการอธิบายมัน ผมว่าคิดต่างมันก็ดีแต่ถึงขั้นผิดเพี้ยนจากมาตรฐานที่มีเดิมดีอยู่แล้ว

อธิบายแบบนี้ รถยนต์เป็นสินทรัพย์ แต่ทำไมคุณถึงมองเป็นค่าใช้จ่าย เพราะมันเป็นสินทรัพย์ที่ด้อยค่า ทางบัญชีจะมีค่าเสื่อมราคาซึ่งตรงนี้ต่างหากที่เป็นค่าใช้จ่าย แล้วการจะดูว่าสินทรัพย์ตัวนี้มีมูลค่าเท่าไร ก็เอาไปหักค่าเสื่อมราคาสะสม ผมว่าความรู้ของเดิมเขาดี ละเอียดอยู่แล้วนะครับ ไปคิดให้มันผิดเพี้ยนทำไม?

แล้วก็อย่าพึ่งไปเรื่องการลงทุน ถ้าความรู้พื้นฐานผิด เดี๋ยวมันจะยิ่งผิดไปกันใหญ่ครับ ความรู้มันมีอยู่แล้วครับ อยู่ที่คุณจะศึกษามันหรือไม่ การคิดไปเองมันเป็น bias อย่างนึง ถ้าเป็นความเห็นไม่มีผิดถูก แต่กรณีนี้มันชัดครับว่าคุณผิดเพี้ยนจากความรู้ทางการเงิน

มาตรฐานบัญชีผมเข้าใจหมดนะ ถ้าจะพูดถึงมาตรฐานบัญชี คุณเรียนมาคงทราบอยู่แล้วว่า สาเหตุที่ทางบัญชีที่เค้าต้องลงเป็นสินทรัพย์ เนื่องจากมันไม่ใช่ของที่ใช้หมดไปในปีเดียว มันมีอายุการใช้งานหลายปี จึงมีการลงไว้เป็นสินทรัพย์และทยอยตัดค่าเสื่อม 5-10 ปี  เหตุผลหลักคือเพื่อให้งบกำไรขาดทุนมันสะท้อนผลการดำเนินงานในปีนั้นๆ


ส่วนที่ผมเสนอคือให้มองในมิติของการลงทุน  อย่าไปมองในมิติทางด้านการลงบัญชี   แต่ไม่ได้ลงรายละเอียดมากนักก็เพราะเข้าใจว่าหลายๆ ท่านในที่นี้อาจจะไม่ได้เรียนทางบัญชีมา จะเยิ่นเย้อเสียเปล่าๆ

ในมุมมองการลงทุน คำว่า "สินทรัพย์"  เราจะมุ่งเน้นไปเฉพาะสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้   หากเป็นสินทรัพย์ที่ไม่ก่อรายได้ ปกติเราจะพิจารณาเป็นค่าใช้จ่าย  (ส่วนมาตรฐานบัญชีจะลงบัญชีอย่างไรก็อีกส่วนหนึ่ง เป็นความถูกต้องทางด้านบัญชี แต่มันคนละด้านกับการตัดสินใจลงทุน)  ยกตัวอย่าง เช่น

-  ถ้าบริษัทจะตัดสินใจทำโครงการ A  เราจะดูว่าโครงการ A ต้องใช้เงินลงทุนเท่าไร คืนทุนในกี่ปี  irr เท่าไร  วิเคราะห์ sensitivity ในแต่ละ Scenario   (CFO จะมองเงินที่ลงทุนในโครงการ A ทั้งหมดเป็น Capital Expediture แต่พนักงานบัญชีจะลงบัญชีตามมาตรฐานบัญชี เช่น  ค่าเงินเดือน ค่าประชาสัมพันธ์ในโครงการ เค้าจะตัดจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายรายปี)

- ถ้าบริษัทจะตัดสินใจจะซื้อรถประจำตำแหน่ง ให้ผู้บริหาร 1 คัน  (CFO จะมองค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับตัวรถ ตลอดจนค่าซ่อม ค่าน้ำมัน เป็นค่าใช้จ่ายระยะยาวของบริษัท  แต่พนักงานบัญชีจะลงบัญชีมูลค่ารถยนต์เป็นสินทรัพย์แล้วทยอยตัดค่าเสื่อมก็ว่ากันไป)

โดยการใช้งานของบุคคลทั่วไปแล้ว ผมจึงเสนอให้มิติมุมมองของการซื้อรถยนต์ส่วนตัวเป็นมิติของค่าใช้จ่าย  โดยที่ผมยังมีความเข้าใจในมิติมุมมองของนักบัญชีอยู่ เพียงแต่ผมเลือกมุมมองที่จะดึงเอาความรู้ที่มีมาใช้ให้ถูกกับบริบทที่เราจะใช้ในการตัดสินใจ     การนำความรู้ที่ร่ำเรียนมาเอาไปใช้กับบริบทที่ไม่ถูกต้องก็ถือเป็นความไม่รู้อย่างนึงนะครับ

มาตรฐานบัญชีบอกให้ลงรถยนต์เป็นสินทรัพย์ แต่การตัดสินใจซื้อรถยนต์ส่วนตัวซึ่งไม่ก่อให้เกิดรายได้เป็นมุมมองของค่าใช้จ่ายครับ แต่จะคำนวณเป็นค่าใช้อย่างไรก็อีกเรื่องหนึ่ง แล้วแต่วิถีของการใช้รถยนต์ของแต่ละบุคคล ซึ่งส่วนใหญ่เลยไม่ได้คิดแบบค่าเสื่อมราคาตามมาตรฐานบัญชีแน่ๆ ครับ
ใช่ครับวิธีการคิดค่าเสื่อมนั้นมีข้อด้อย เพราะการคิดค่าเสื่อมทางบัญชีนั้นมีหลายวิธีแล้วแต่เลือกใช้ แต่สำหรับรถยนต์หากใช้ตัดเป็นแบบ exponential มันก็จะใกล้เคียงที่สุด แต่ไม่มีใครเขาทำกัน

ส่วนวิธีคิดของคุณมันมีข้อด้อยอย่างมาก คือการคิดว่ารถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นบอกอะไรไม่ได้มากไปกว่าเงินที่จ่ายออกไป คุณจะเห็นว่าทำไมตลาดหลักทรัพย์ถึงพร่ำสอนให้คนทั่วไปทำบัญชีส่วนตัวอย่างง่ายๆ เพื่อนำความรู้ทางการเงินมาประยุกต์ใช้กับตรงที่คุณคิดนี่แหละ ดังนั้นการมองตามหลักบัญชีนั้นถ้านำมาประยุกต์ใช้มีประโยชน์กว่าแน่นอน คุณจะเห็นมูลค่าปัจจุบันรถยนต์ของคุณ(ค่าซากโดยประมาณ) คุณจะเห็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละปี แยกได้ว่าค่าใช้จ่ายนั้นเกิดจากการด้อยค่า หรือการบำรุงรักษา แล้วคุณก็ต้องเข้าใจข้อด้อยของการคิดค่าเสื่อม ดีกว่าการมัดรวมเป็นค่าใช้จ่ายครับ

อะไรที่ของเดิมดีอยู่แล้วก็นามาประยุกต์ใช้ครับ การที่คุณมองสิ่งต่างๆ ไม่เหมือน ใช้ไม่ได้ ผมบอกเลยนักการเงินนั้นจะพยายามมองให้เหมือนกัน แล้วนำมาประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะเรื่องการลงทุน คุณเชื่อไหมว่าการคิดมูลค่าหุ้น มูลค่าตราสารหนี้ มูลค่า asset back security หรือสินทรัพย์อื่นๆ อีกมากมาย ต้นตอมาจากวิธีเดียวกันหมด ส่วนเรื่องที่คุณพูดถึง irr sensitivity scenario หรือแม้แต่ capex เป็นการเงินในเชิงบริหาร ผมกลับมองว่าการมองรถยนต์ให้เป็นสินทรัพย์ คุณจะเห็นค่าเสื่อม มูลค่าปัจจุบัน สินทรัพย์นี้มาจากหนี้ หรือทุน ในการตัดสินใจมีประโยชน์มากกว่าไหม โดยที่คุณเข้าใจข้อด้อยของค่าเสื่อม

การนำรถยนต์ไปไว้ในรายการค่าใช้จ่าย หากทำบัญชีส่วนตัว คุณจะไม่เห็นอะไรเลย นอกจากเงินที่เสียไป แถมยังผิดหลักบัญชีอีกด้วย ทำไมถึงไม่นำความรู้มาประยุกต์ใช้

ส่วนวิธีคิดของคุณมันมีข้อด้อยอย่างมาก คือการคิดว่ารถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นบอกอะไรไม่ได้มากไปกว่าเงินที่จ่ายออกไป  >> อันนี้มันเป็นเกณฑ์เงินสดแล้วครับ ไม่ใช่มุมมองด้านค่าใช้จ่ายแล้วครับ

ดังนั้นการมองตามหลักบัญชีนั้นถ้านำมาประยุกต์ใช้มีประโยชน์กว่าแน่นอน คุณจะเห็นมูลค่าปัจจุบันรถยนต์ของคุณ(ค่าซากโดยประมาณ) คุณจะเห็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละปี แยกได้ว่าค่าใช้จ่ายนั้นเกิดจากการด้อยค่า หรือการบำรุงรักษา แล้วคุณก็ต้องเข้าใจข้อด้อยของการคิดค่าเสื่อม ดีกว่าการมัดรวมเป็นค่าใช้จ่ายครับ   >>> ก็ที่ท่านพิมพ์มาทั้งหมดนี่แหละครับ คือการมองในมิติในด้านค่าใช้จ่าย   คือการพิจารณาการซื้อรถจากมุมมองค่าใช้จ่าย  ถ้าเห็นแบบนี้ ท่านก็มองตามมิติค่าใช้จ่ายที่ผมบอกอยู่นะครับ   

หากท่านจะมองจากมิติของสินทรัพย์ท่านก็ต้องตอบคำถามเจ้าของกระทู้นะครับ ที่ว่า

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  >>> คำตอบของท่าน คิดว่าคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดดีครับ



ออฟไลน์ pim_cute

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 308

ส่วนวิธีคิดของคุณมันมีข้อด้อยอย่างมาก คือการคิดว่ารถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นบอกอะไรไม่ได้มากไปกว่าเงินที่จ่ายออกไป  >> อันนี้มันเป็นเกณฑ์เงินสดแล้วครับ ไม่ใช่มุมมองด้านค่าใช้จ่ายแล้วครับ

ดังนั้นการมองตามหลักบัญชีนั้นถ้านำมาประยุกต์ใช้มีประโยชน์กว่าแน่นอน คุณจะเห็นมูลค่าปัจจุบันรถยนต์ของคุณ(ค่าซากโดยประมาณ) คุณจะเห็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละปี แยกได้ว่าค่าใช้จ่ายนั้นเกิดจากการด้อยค่า หรือการบำรุงรักษา แล้วคุณก็ต้องเข้าใจข้อด้อยของการคิดค่าเสื่อม ดีกว่าการมัดรวมเป็นค่าใช้จ่ายครับ   >>> ก็ที่ท่านพิมพ์มาทั้งหมดนี่แหละครับ คือการมองในมิติในด้านค่าใช้จ่าย   คือการพิจารณาการซื้อรถจากมุมมองค่าใช้จ่าย  ถ้าเห็นแบบนี้ ท่านก็มองตามมิติค่าใช้จ่ายที่ผมบอกอยู่นะครับ   

หากท่านจะมองจากมิติของสินทรัพย์ท่านก็ต้องตอบคำถามเจ้าของกระทู้นะครับ ที่ว่า

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  >>> คำตอบของท่าน คิดว่าคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดดีครับ
ค่าใช้จ่ายทางบัญชีมันสมบูรณ์ในตัวของมันอยู่แล้วครับ ต่อให้ไม่เป็นเงินสด ถ้ายังไม่ได้จ่ายมันก็จะไปรายการหนี้สิน พอถึงเวลาจ่ายมันก็จะเครดิตหนี้สินออก และไปรายการค่าใช้จ่ายอยู่ดี ง่ายๆ คือคุณเห็นหมดว่าสินทรัพย์ จ่ายหรือยัง เป็นเงินสดไหม หรือยังไม่จ่ายเป็นหนี้สินในอนาคต แบบนี้ไม่มีประโยชน์กว่าหรือ

หากท่านจะมองจากมิติของสินทรัพย์ท่านก็ต้องตอบคำถามเจ้าของกระทู้นะครับ ที่ว่า[/b]

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  >>> คำตอบของท่าน คิดว่าคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดดีครับ

คุณกำลังคิดว่าบัญชีบริษัทมันไม่สมเหตุผลใช่ไหม วิธีการทางบัญชีนั้นตรงไปตรงมา ถ้าหากคุณซื้อรถยนต์ส่วนตัว แต่คุณไปคิดว่าค่าบำรุงรักษาเป็นค่าใช้จ่ายระยะยาว แต่รถยนต์เป็นสินทรัพย์ มันก็แน่ละครับเพราะมันเป็นบัญชีของบริษัท หากคุณทำให้ถูกต้อง โดยการลงไปบัญชีถอนใช้ส่วนตัว รถยนต์ก็จะหายออกไปจากบัญชีบริษัท แล้วคุณไปทำบัญชีส่วนตัวของคุณเอง ดังนั้นการตอบคำถามนี้จึงจะถูกต้องกว่า อย่าเอาสินทรัพย์ของบริษัท ไปปนกับของคุณ เพราะมันไม่ใช่ แต่ถ้าบริษัทนั้นคุณเป็นเจ้าของ ก็ลงบัญชีสินทรัพย์ตามส่วนที่เป็นจริง แค่นั้นเองครับ
ส่วนเรื่องตัวเลข "เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี" คิดได้แต่ไม่ใช่สาระครับ การซื้อรถควรคำนึงถึงรายได้มากกว่า
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 07, 2020, 16:55:50 โดย pim_cute »

ออฟไลน์ zocket00

  • Jr. Member
  • **
  • กระทู้: 101
ผมว่าถ้าตอบเป็น % ของสิรทรัพย์คงยากครับ เพราะสินทรัพย์แต่ละอย่าง liquidity ไม่เท่ากันครับ อย่างบางท่านมีที่ดินเยอะ แต่ไม่ได้ถือเงิน หรืออะไรทีเปลี่ยนเป็นเงินได้เร็วเยอะเท่าไหร่
ก็อาจจะคิดว่ายังไม่พร้อมสำหรับการซื้อรถ บางคนใช้รถเป้นเครื่องมือทำมาหากินครับก็อาจจะมองเป็นการลงทุนระยะยาวเพื่อให้เกิดรายได้

ส่วนบางท่านที่ที cashflow ดีอยู่แล้ว มีเงินหมุนเวียน หรือมีหน้าที่การงานมั่นคง มีเงินก้อน ผมว่าถ้าไม่ได้เดือดร้อนเกินขนาดว่าต้องประหยีดหรืออดมื้อกินมื้อ ก็น่าจะซื้อได้นะครับ

สำหรับผมจริงๆเป้นคนชอบรถมากครับ กำลังก็พร้อม แต่บางทีในมุมมองที่รถมนยังไม่ได้เสีย แล้วซื้อมาไว้ก็ไม่ค่อยได้ขับ รถมันมีแต่คำว่ารถหนะครับ มันก็เลยคิดเสียดายเงิน ถึงแม้ว่าจะไม่ได้กระทบ
ฐานะทางการเงินอะไรมากสำหรับงบที่ตั้งไว้ (เล็ง GLC43 amg facelift ไว้) แต่คันเก่ามันยังวิงดีอยู่ ขายไปก็ไม่ค่อยได้ราคาเท่าไหร่ ก็เลยใช้มาเรื่อยๆครับ บางทีมีหลายเหตุผลมากครับสำหรับการ
ซื้อรถ 1 คัน อยู่ที่ท่านจะคิดเลยครับ แต่หลักๆคือไม่ให้เกินตัวครับ ยิ่งเป็นช่วงวิกฤตแบบนี้ มองแบบ conservative ไว้ก่อนดีกว่าครับ  :-X

ออฟไลน์ D Water Law

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 292

ส่วนวิธีคิดของคุณมันมีข้อด้อยอย่างมาก คือการคิดว่ารถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นบอกอะไรไม่ได้มากไปกว่าเงินที่จ่ายออกไป  >> อันนี้มันเป็นเกณฑ์เงินสดแล้วครับ ไม่ใช่มุมมองด้านค่าใช้จ่ายแล้วครับ

ดังนั้นการมองตามหลักบัญชีนั้นถ้านำมาประยุกต์ใช้มีประโยชน์กว่าแน่นอน คุณจะเห็นมูลค่าปัจจุบันรถยนต์ของคุณ(ค่าซากโดยประมาณ) คุณจะเห็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละปี แยกได้ว่าค่าใช้จ่ายนั้นเกิดจากการด้อยค่า หรือการบำรุงรักษา แล้วคุณก็ต้องเข้าใจข้อด้อยของการคิดค่าเสื่อม ดีกว่าการมัดรวมเป็นค่าใช้จ่ายครับ   >>> ก็ที่ท่านพิมพ์มาทั้งหมดนี่แหละครับ คือการมองในมิติในด้านค่าใช้จ่าย   คือการพิจารณาการซื้อรถจากมุมมองค่าใช้จ่าย  ถ้าเห็นแบบนี้ ท่านก็มองตามมิติค่าใช้จ่ายที่ผมบอกอยู่นะครับ   

หากท่านจะมองจากมิติของสินทรัพย์ท่านก็ต้องตอบคำถามเจ้าของกระทู้นะครับ ที่ว่า

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  >>> คำตอบของท่าน คิดว่าคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดดีครับ
ค่าใช้จ่ายทางบัญชีมันสมบูรณ์ในตัวของมันอยู่แล้วครับ ต่อให้ไม่เป็นเงินสด ถ้ายังไม่ได้จ่ายมันก็จะไปรายการหนี้สิน พอถึงเวลาจ่ายมันก็จะเครดิตหนี้สินออก และไปรายการค่าใช้จ่ายอยู่ดี ง่ายๆ คือคุณเห็นหมดว่าสินทรัพย์ จ่ายหรือยัง เป็นเงินสดไหม หรือยังไม่จ่ายเป็นหนี้สินในอนาคต แบบนี้ไม่มีประโยชน์กว่าหรือ

หากท่านจะมองจากมิติของสินทรัพย์ท่านก็ต้องตอบคำถามเจ้าของกระทู้นะครับ ที่ว่า[/b]

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  >>> คำตอบของท่าน คิดว่าคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดดีครับ

คุณกำลังคิดว่าบัญชีบริษัทมันไม่สมเหตุผลใช่ไหม วิธีการทางบัญชีนั้นตรงไปตรงมา ถ้าหากคุณซื้อรถยนต์ส่วนตัว แต่คุณไปคิดว่าค่าบำรุงรักษาเป็นค่าใช้จ่ายระยะยาว แต่รถยนต์เป็นสินทรัพย์ มันก็แน่ละครับเพราะมันเป็นบัญชีของบริษัท หากคุณทำให้ถูกต้อง โดยการลงไปบัญชีถอนใช้ส่วนตัว รถยนต์ก็จะหายออกไปจากบัญชีบริษัท แล้วคุณไปทำบัญชีส่วนตัวของคุณเอง ดังนั้นการตอบคำถามนี้จึงจะถูกต้องกว่า อย่าเอาสินทรัพย์ของบริษัท ไปปนกับของคุณ เพราะมันไม่ใช่ แต่ถ้าบริษัทนั้นคุณเป็นเจ้าของ ก็ลงบัญชีสินทรัพย์ตามส่วนที่เป็นจริง แค่นั้นเองครับ
ส่วนเรื่องตัวเลข "เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี" คิดได้แต่ไม่ใช่สาระครับ การซื้อรถควรคำนึงถึงรายได้มากกว่า

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี" คิดได้แต่ไม่ใช่สาระครับ การซื้อรถควรคำนึงถึงรายได้มากกว่า ---> นี่คือความเห็นของคุณใช่ป่าวครับ 

สรุปคือคุณมีมุมมองในการซื้อรถด้วยการคำนวณเป็นรายจ่ายต่อเดือนต่อปีอะไรก็ว่าไป แล้วเทียบกับรายได้ของผู้ซื้อใช่ไหมครับ     ถ้าใช่ มันคือมุมมองทางด้านค่าใช้จ่าย มี่ผมสรุปตั้งแต่ต้นว่า มันต้องต้องเหมาะสมกับรายได้ หักด้วยค่าใช้จ่ายจำเป็น ซึ่งก็คือมุมมองทางด้านค่าใช้จ่ายตามผมอธิบายไว้ตั้งแต่ต้น   ท่านแย้งมุมมองของผม แล้วพอคุยไปคุยมาท่านมาสรุปว่าควรใช้มุมมองค่าใช้จ่ายแบบมี่ผมเสนอ  ตกลงท่านแย้งอะไรครับ  ผมชักงงกับท่านแล้วนะครับ   
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 07, 2020, 17:06:43 โดย kittik25 »

ออฟไลน์ pim_cute

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 308

ส่วนวิธีคิดของคุณมันมีข้อด้อยอย่างมาก คือการคิดว่ารถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นบอกอะไรไม่ได้มากไปกว่าเงินที่จ่ายออกไป  >> อันนี้มันเป็นเกณฑ์เงินสดแล้วครับ ไม่ใช่มุมมองด้านค่าใช้จ่ายแล้วครับ

ดังนั้นการมองตามหลักบัญชีนั้นถ้านำมาประยุกต์ใช้มีประโยชน์กว่าแน่นอน คุณจะเห็นมูลค่าปัจจุบันรถยนต์ของคุณ(ค่าซากโดยประมาณ) คุณจะเห็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละปี แยกได้ว่าค่าใช้จ่ายนั้นเกิดจากการด้อยค่า หรือการบำรุงรักษา แล้วคุณก็ต้องเข้าใจข้อด้อยของการคิดค่าเสื่อม ดีกว่าการมัดรวมเป็นค่าใช้จ่ายครับ   >>> ก็ที่ท่านพิมพ์มาทั้งหมดนี่แหละครับ คือการมองในมิติในด้านค่าใช้จ่าย   คือการพิจารณาการซื้อรถจากมุมมองค่าใช้จ่าย  ถ้าเห็นแบบนี้ ท่านก็มองตามมิติค่าใช้จ่ายที่ผมบอกอยู่นะครับ   

หากท่านจะมองจากมิติของสินทรัพย์ท่านก็ต้องตอบคำถามเจ้าของกระทู้นะครับ ที่ว่า

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  >>> คำตอบของท่าน คิดว่าคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดดีครับ
ค่าใช้จ่ายทางบัญชีมันสมบูรณ์ในตัวของมันอยู่แล้วครับ ต่อให้ไม่เป็นเงินสด ถ้ายังไม่ได้จ่ายมันก็จะไปรายการหนี้สิน พอถึงเวลาจ่ายมันก็จะเครดิตหนี้สินออก และไปรายการค่าใช้จ่ายอยู่ดี ง่ายๆ คือคุณเห็นหมดว่าสินทรัพย์ จ่ายหรือยัง เป็นเงินสดไหม หรือยังไม่จ่ายเป็นหนี้สินในอนาคต แบบนี้ไม่มีประโยชน์กว่าหรือ

หากท่านจะมองจากมิติของสินทรัพย์ท่านก็ต้องตอบคำถามเจ้าของกระทู้นะครับ ที่ว่า[/b]

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  >>> คำตอบของท่าน คิดว่าคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดดีครับ

คุณกำลังคิดว่าบัญชีบริษัทมันไม่สมเหตุผลใช่ไหม วิธีการทางบัญชีนั้นตรงไปตรงมา ถ้าหากคุณซื้อรถยนต์ส่วนตัว แต่คุณไปคิดว่าค่าบำรุงรักษาเป็นค่าใช้จ่ายระยะยาว แต่รถยนต์เป็นสินทรัพย์ มันก็แน่ละครับเพราะมันเป็นบัญชีของบริษัท หากคุณทำให้ถูกต้อง โดยการลงไปบัญชีถอนใช้ส่วนตัว รถยนต์ก็จะหายออกไปจากบัญชีบริษัท แล้วคุณไปทำบัญชีส่วนตัวของคุณเอง ดังนั้นการตอบคำถามนี้จึงจะถูกต้องกว่า อย่าเอาสินทรัพย์ของบริษัท ไปปนกับของคุณ เพราะมันไม่ใช่ แต่ถ้าบริษัทนั้นคุณเป็นเจ้าของ ก็ลงบัญชีสินทรัพย์ตามส่วนที่เป็นจริง แค่นั้นเองครับ
ส่วนเรื่องตัวเลข "เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี" คิดได้แต่ไม่ใช่สาระครับ การซื้อรถควรคำนึงถึงรายได้มากกว่า

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี" คิดได้แต่ไม่ใช่สาระครับ การซื้อรถควรคำนึงถึงรายได้มากกว่า ---> นี่คือความเห็นของคุณใช่ป่าวครับ 

สรุปคือคุณมีมุมมองในการซื้อรถด้วยการคำนวณเป็นรายจ่ายต่อเดือนต่อปีอะไรก็ว่าไป แล้วเทียบกับรายได้ของผู้ซื้อใช่ไหมครับ     ถ้าใช่ มันคือมุมมองทางด้านค่าใช้จ่าย มี่ผมสรุปตั้งแต่ต้นว่า มันต้องต้องเหมาะสมกับรายได้ หักด้วยค่าใช้จ่ายจำเป็น ซึ่งก็คือมุมมองทางด้านค่าใช้จ่ายตามผมอธิบายไว้ตั้งแต่ต้น   ท่านแย้งมุมมองของผม แล้วพอคุยไปคุยมาท่านมาสรุปว่าควรใช้มุมมองค่าใช้จ่ายแบบมี่ผมเสนอ  ตกลงท่านแย้งอะไรครับ  ผมชักงงกับท่านแล้วนะครับ   
คุณงงเพราะคุณเอาแต่คิดเรื่องค่าใช้จ่ายอย่างเดียวไงครับ ทุกรายการ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ค่าใช้จ่าย สัมพันธ์กันหมด ผมไม่ได้มองแต่ค่าใช้จ่าย ผมมองทั้งหมด แล้วมันจะเป็นอะไรมันก็เป็นอันนั้นแหละ ไม่มีนัยยะอะไรเลยครับ

ยกตัวอย่างง่ายๆ คุณซื้อรถมาคันนึง คุณมองว่าจ่ายไปเท่าไร แต่ความเป็นจริงมันมีมากกว่านั้น สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน คุณกู้ 9 แสน ดาวน์ 1 แสน มันก็จะเห็นว่ารถคันนี้ เป็นทุน 1 แสน หนี้ 9 แสน สินทรัพย์เป็น 1 ล้าน คำถามจึงเป็นประโยชน์น้อยเพราะสินทรัพย์ มันบอกไม่ได้ว่าเป็นส่วนหนี้ หรือทุนเท่าไร ต้องดูประกอบกันทั้งหมด

แล้วถ้าคุณมองรถยนต์เป็นค่าใช้จ่าย จะมองแค่เงินที่จ่ายดาวน์ 1 แสน ส่วนที่กู้จะมองยังไงต่อครับ ยังไงก็ต้องมองเป็นสินทรัพย์อยู่ดี สินทรัพย์ก็คือสิ่งที่บริษัทใช้สร้างรายได้ ถ้าหากเป็นบัญชีส่วนตัวก็มองได้ว่าคือสิ่งที่คุณใช้สร้างคุณภาพชีวิต มองเป็นค่าใช้จ่ายหมดแล้วมันได้อะไรละครับ?

คุณอย่าลืมนะตัวรถยนต์ที่คุณขับ กับเงินที่จ่ายไปเพื่อซื้อ หรือซ่อม หรืออื่นๆ มันเป็นคนละอย่างกันนะ ถ้างั้นบ้าน และอื่นๆ อีกมากหากด้อยค่า จะเป็นค่าใช้จ่ายหมดเลยไหม รถยนต์ที่คุณๆ ขับอยู่ไม่มีมูลค่าเลยหรือหากใช้ไปแค่ 1-2 ปี หรือมันเป็นเพียงค่าใช้จ่าย? มันมีมูลค่าไม่ใช่หรือ ความรู้ทางบัญชีมันมาตอบตรงนี้ไงครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 07, 2020, 17:45:37 โดย pim_cute »

ออฟไลน์ D Water Law

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 292

ส่วนวิธีคิดของคุณมันมีข้อด้อยอย่างมาก คือการคิดว่ารถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นบอกอะไรไม่ได้มากไปกว่าเงินที่จ่ายออกไป  >> อันนี้มันเป็นเกณฑ์เงินสดแล้วครับ ไม่ใช่มุมมองด้านค่าใช้จ่ายแล้วครับ

ดังนั้นการมองตามหลักบัญชีนั้นถ้านำมาประยุกต์ใช้มีประโยชน์กว่าแน่นอน คุณจะเห็นมูลค่าปัจจุบันรถยนต์ของคุณ(ค่าซากโดยประมาณ) คุณจะเห็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละปี แยกได้ว่าค่าใช้จ่ายนั้นเกิดจากการด้อยค่า หรือการบำรุงรักษา แล้วคุณก็ต้องเข้าใจข้อด้อยของการคิดค่าเสื่อม ดีกว่าการมัดรวมเป็นค่าใช้จ่ายครับ   >>> ก็ที่ท่านพิมพ์มาทั้งหมดนี่แหละครับ คือการมองในมิติในด้านค่าใช้จ่าย   คือการพิจารณาการซื้อรถจากมุมมองค่าใช้จ่าย  ถ้าเห็นแบบนี้ ท่านก็มองตามมิติค่าใช้จ่ายที่ผมบอกอยู่นะครับ   

หากท่านจะมองจากมิติของสินทรัพย์ท่านก็ต้องตอบคำถามเจ้าของกระทู้นะครับ ที่ว่า

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  >>> คำตอบของท่าน คิดว่าคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดดีครับ
ค่าใช้จ่ายทางบัญชีมันสมบูรณ์ในตัวของมันอยู่แล้วครับ ต่อให้ไม่เป็นเงินสด ถ้ายังไม่ได้จ่ายมันก็จะไปรายการหนี้สิน พอถึงเวลาจ่ายมันก็จะเครดิตหนี้สินออก และไปรายการค่าใช้จ่ายอยู่ดี ง่ายๆ คือคุณเห็นหมดว่าสินทรัพย์ จ่ายหรือยัง เป็นเงินสดไหม หรือยังไม่จ่ายเป็นหนี้สินในอนาคต แบบนี้ไม่มีประโยชน์กว่าหรือ

หากท่านจะมองจากมิติของสินทรัพย์ท่านก็ต้องตอบคำถามเจ้าของกระทู้นะครับ ที่ว่า[/b]

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  >>> คำตอบของท่าน คิดว่าคิดเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดดีครับ

คุณกำลังคิดว่าบัญชีบริษัทมันไม่สมเหตุผลใช่ไหม วิธีการทางบัญชีนั้นตรงไปตรงมา ถ้าหากคุณซื้อรถยนต์ส่วนตัว แต่คุณไปคิดว่าค่าบำรุงรักษาเป็นค่าใช้จ่ายระยะยาว แต่รถยนต์เป็นสินทรัพย์ มันก็แน่ละครับเพราะมันเป็นบัญชีของบริษัท หากคุณทำให้ถูกต้อง โดยการลงไปบัญชีถอนใช้ส่วนตัว รถยนต์ก็จะหายออกไปจากบัญชีบริษัท แล้วคุณไปทำบัญชีส่วนตัวของคุณเอง ดังนั้นการตอบคำถามนี้จึงจะถูกต้องกว่า อย่าเอาสินทรัพย์ของบริษัท ไปปนกับของคุณ เพราะมันไม่ใช่ แต่ถ้าบริษัทนั้นคุณเป็นเจ้าของ ก็ลงบัญชีสินทรัพย์ตามส่วนที่เป็นจริง แค่นั้นเองครับ
ส่วนเรื่องตัวเลข "เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี" คิดได้แต่ไม่ใช่สาระครับ การซื้อรถควรคำนึงถึงรายได้มากกว่า

"เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี" คิดได้แต่ไม่ใช่สาระครับ การซื้อรถควรคำนึงถึงรายได้มากกว่า ---> นี่คือความเห็นของคุณใช่ป่าวครับ 

สรุปคือคุณมีมุมมองในการซื้อรถด้วยการคำนวณเป็นรายจ่ายต่อเดือนต่อปีอะไรก็ว่าไป แล้วเทียบกับรายได้ของผู้ซื้อใช่ไหมครับ     ถ้าใช่ มันคือมุมมองทางด้านค่าใช้จ่าย มี่ผมสรุปตั้งแต่ต้นว่า มันต้องต้องเหมาะสมกับรายได้ หักด้วยค่าใช้จ่ายจำเป็น ซึ่งก็คือมุมมองทางด้านค่าใช้จ่ายตามผมอธิบายไว้ตั้งแต่ต้น   ท่านแย้งมุมมองของผม แล้วพอคุยไปคุยมาท่านมาสรุปว่าควรใช้มุมมองค่าใช้จ่ายแบบมี่ผมเสนอ  ตกลงท่านแย้งอะไรครับ  ผมชักงงกับท่านแล้วนะครับ   
คุณงงเพราะคุณเอาแต่คิดเรื่องค่าใช้จ่ายอย่างเดียวไงครับ ทุกรายการ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ค่าใช้จ่าย สัมพันธ์กันหมด ผมไม่ได้มองแต่ค่าใช้จ่าย ผมมองทั้งหมด แล้วมันจะเป็นอะไรมันก็เป็นอันนั้นแหละ ไม่มีนัยยะอะไรเลยครับ

ยกตัวอย่างง่ายๆ คุณซื้อรถมาคันนึง คุณมองว่าจ่ายไปเท่าไร แต่ความเป็นจริงมันมีมากกว่านั้น สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน คุณกู้ 9 แสน ดาวน์ 1 แสน มันก็จะเห็นว่ารถคันนี้ เป็นทุน 1 แสน หนี้ 9 แสน สินทรัพย์เป็น 1 ล้าน คำถามจึงเป็นประโยชน์น้อยเพราะสินทรัพย์ มันบอกไม่ได้ว่าเป็นส่วนหนี้ หรือทุนเท่าไร ต้องดูประกอบกันทั้งหมด

แล้วถ้าคุณมองรถยนต์เป็นค่าใช้จ่าย จะมองแค่เงินที่จ่ายดาวน์ 1 แสน ส่วนที่กู้จะมองยังไงต่อครับ ยังไงก็ต้องมองเป็นสินทรัพย์อยู่ดี สินทรัพย์ก็คือสิ่งที่บริษัทใช้สร้างรายได้ ถ้าหากเป็นบัญชีส่วนตัวก็มองได้ว่าคือสิ่งที่คุณใช้สร้างคุณภาพชีวิต มองเป็นค่าใช้จ่ายหมดแล้วมันได้อะไรละครับ?

คุณอย่าลืมนะตัวรถยนต์ที่คุณขับ กับเงินที่จ่ายไปเพื่อซื้อ หรือซ่อม หรืออื่นๆ มันเป็นคนละอย่างกันนะ ถ้างั้นบ้าน และอื่นๆ อีกมากหากด้อยค่า จะเป็นค่าใช้จ่ายหมดเลยไหม รถยนต์ที่คุณๆ ขับอยู่ไม่มีมูลค่าเลยหรือหากใช้ไปแค่ 1-2 ปี หรือมันเป็นเพียงค่าใช้จ่าย? มันมีมูลค่าไม่ใช่หรือ ความรู้ทางบัญชีมันมาตอบตรงนี้ไงครับ


โอ๊ยย ออกทะเลแล้วครับ สงสัยเราต้องคุยเรื่องการซื้อเรือแทนการซื้อรถแล้วมั้งครับ     ท่านคุยคนละประเด็น   ผมไม่เถียงประเด็นที่คุณผุดออกมานอกประเด็นที่ผมตอบในทีแรกแล้วนะ เพิ่งซื้อรถไป ไม่มีตังค์ซื้อเรือแล้วครับ มันออกนอกชายฝั่งไปไกลมาก

 เอางี้นะ  กลับมาที่คำถามของเจ้าของกระทู้นะ   ตามลำดับนะ

 1.  "เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  นั่นคือ เจ้าของกระทู้ตั้งคำถามด้วยมุมมองการตัดสินใจซื้อรถยนต์ด้วยมุมมองทางด้านทรัพย์สิน

 2.  ผมเข้าใจและทราบดีว่าการซื้อรถ 1 คัน  จะกระทบทางบัญชีอะไรบ้าง  แต่ไม่ได้พิมพ์ออกไปทั้งหมด เพราะในบอร์ดนี้ เราคุยกันด้วยแนวความคิด ไม่ใช่คุยเรื่องมาตรฐานบัญชี  แต่อธิบายให้เคลียร์ละกันว่ามันกระทบทุกงบแหละ
      2.1 งบดุล   ซึ่งคำถามของเจ้าของกระทู้อยากจะรู้ว่า มูลค่ารถยนต์ 1 คัน ควรจะมีมูลค่าสักกี่ %   ของทรัพย์สินทั้งหมดที่มี     นี่คือมุมมองหรือมิติทางด้านทรัพย์สิน
      2.2 งบกำไร-ขาดทุน    นั่นก็คือต่อจากวันที่ซื้อรถไป  จะเริ่มมีค่าใช้จ่ายของรถยนต์ 1 คัน ซึ่งประกอบไปด้วย ค่าเสื่อมราคา  ค่าซ่อมบำรุง ระยะเวลาในการใช้ การขายมูลค่าซาก   (ทั้งหมดทั้งปวงที่ท่านอธิบายมา ก็ใช้แนวทางนี้นั่นแหละ   ท่านเองก็สนับสนุนวิธีคิดแบบนี้เองด้วยซ้ำ)  นี่คือมุมมองทางด้านค่าใช้จ่าย
      2.3 งบกระแสเงินสด   นี่คือมุมมองทางด้าน Csah Flow ซึ่งอันนี้ผมไม่แตะนะ เพราะ Cash Flow ของใครของมัน  เพราะผมตั้งพื้นฐานจากการให้ความเคารพในทุกๆ ท่านในบอร์ด ไม่มีการตั้งสมมติฐานว่าจะมีคนผ่อนไม่ไหว ถือว่าผ่อนหมดผ่อนจบทุกคน   

  3.  ผมจึงเสนอมุมมองของผมว่า แทนที่จะพิจารณามุมมองทางด้านเปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ (นั่นคือมุมมองแบบ Asset Allocation)   น่าจะพิจารณามุมมองทางด้านค่าใช้จ่าย (Expense allocation) ซึ่งแม้ว่าผมจะไม่ได้ลงรายละเอียดว่าจะคิดคำนวณอย่างไร แต่เสนอให้เป็นหลักการว่ามันควรจะเป็นค่าใช้จ่ายที่ได้รับการจัดสรรหลังจากที่เราได้จัดสรรค่าใช้จ่ายจำเป็นในส่วนอื่นๆ ก่อนแล้ว     ซึ่งมาตรฐานบัญชี คำว่าค่าใช้จ่ายเค้าก็ใช้หลัก  accrual basis  กันอยู่แล้ว ผมจึงไม่ลงรายละเอียดอะไร  เหตุใดท่านจึงคิดว่าผมจะใช้วิธีคิดแบบ Cash Basis เหรอครับ  ถ้าผมจะใช้ Cash Basis ผมก็จะใช้หลักกระแสเงินสดสิครับ   

  4. ท่านมาแย้งผมโดยใช้หลักการบัญชีว่า การซื้อรถยนต์ถือเป็นสินทรัพย์ ซึ่งก็ถูกต้องแล้วตามมาตรฐานบัญชี  แต่มันคนละเรื่อง คนละประเด็นกับที่เจ้าของกระทู้ถามมา ประเด็นหลักของเค้าคือการพิจารณาตัดสินใจซื้อรถว่าควรคิดอย่างไร   ผมจึงเสนอไปว่าการพิจารณาซื้อรถไม่น่าจะมองมูลค่ารถยนต์คิดเป็นเปอร์เซนต์ของสินทรัพย์โดยรวม (Asset Allocation)  แต่ควรจะพิจารณา จากค่าใช้จ่ายแล้วจัดสรรให้มันเป็นค่าใช้จ่ายหลังจากค่าใช้จ่ายจำเป็นอื่นๆ  นั่นคือมุมมองแบบ Expense allocation

  5. คุยไปคุยมา ท่านบอกว่าการพิจารณาซื้อรถต้องคำนึงถึง การด้อยค่า หลักการคิดค่าเสื่อม ค่าบำรุงรักษา เอ้าาา ท่านก็ใช้หลักการพิจารณาจากค่าใช้จ่ายนี่หว่า

ผมได้แสดงความเห็นในส่วนของผมไปแต่ต้นแล้ว ซึ่งผมใช้วิธีในการตัดสินใจซื้อรถ     ส่วนท่านได้ให้ตอบคำถามหรือความเห็นของท่านเจ้าของกระทู้ไปหรือยังครับ ว่าตอนท่านซื้อรถท่านพิจารณาอย่างไร  ถ้ายังไม่ได้ตอบ โปรดแสดงวิธีการพิจารณาโดยใช้หลักการบัญชีของท่าน  ตอบคำถามเจ้าของกระทู้ให้ดูหน่อยนะครับ   

ปล. ผมขอย้ำอีกครั้ง ผมไม่ได้บอกว่ารถยนต์ไม่ใช่ทรัพย์สินตามหลักบัญชีนะ เดี่ยวออกทะเลอีก แค่เสนอว่าอย่าใช้มุมมองทางด้านทรัพย์สินในการตัดสินใจซื้อรถ ให้ใช้มุมมองด้านค่าใช้จ่ายในการตัดสินใจซื้อรถก็เท่านั้น  แต่ถ้าซื้อแล้ว อยู่ในพอร์ตแล้ว รถในพอร์ตผมก็นับเป็นทรัพย์สินครับ 

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 07, 2020, 19:05:16 โดย kittik25 »

ออฟไลน์ Rr58

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 3
ขอบคุณสำหรับทุกความคิดเห็นครับ ได้แง่คิดต่างๆเพิ่มมากขึ้นเยอะเลย

เนื่องจากผมต้องการจะออกรถใหม่ด้วยเงินสด หากเทียบกับสินทรัพย์ที่ทั้งหมด(ไม่รวมบ้าน) 10% โดยประมาณแต่กลัวจะเกินตัวไป

ด้วยในยุดนี้แล้วควรใช้จ่ายอย่างประหยัดจึงมาสอบถามความคิดเห็นเพื่อนๆเพื่อประกอบการตัดสินใจ

ออฟไลน์ D Water Law

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 292
ขอบคุณสำหรับทุกความคิดเห็นครับ ได้แง่คิดต่างๆเพิ่มมากขึ้นเยอะเลย

เนื่องจากผมต้องการจะออกรถใหม่ด้วยเงินสด หากเทียบกับสินทรัพย์ที่ทั้งหมด(ไม่รวมบ้าน) 10% โดยประมาณแต่กลัวจะเกินตัวไป

ด้วยในยุดนี้แล้วควรใช้จ่ายอย่างประหยัดจึงมาสอบถามความคิดเห็นเพื่อนๆเพื่อประกอบการตัดสินใจ

ครับผม ถือเป็นแนวทางการพิจารณาแล้วกันนะครับ ส่วนจะตัดสินใจอย่างไร ก็เคารพการตัดสินใจของแต่ละท่านนะครับ
ผมเองก็เพิ่งซื้อรถเงินสดครับ  แต่ที่ผมไม่ใช้หลักการเปอร์เซนต์ของทรัพย์สินที่มี เพราะแนวทางการใช้ชีวิตของผมคือชีวิตของผมคือ ผมควรมี  (ทรัพย์สิน-หนี้สิน) ในจำนวนที่เพิ่มขึ้นทุกๆ ปีครับเพราะนั่นคือความมั่นคงของครอบครัว   ดังนั้น คือหากจะมีค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเกิดขึ้นมา ผมเลยจัดสรรให้อยู่ในส่วนของรายได้ที่ต้องหาเพิ่มมาด้วยครับ   

ออฟไลน์ dht_tubes

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 3,641
    • อีเมล์
ดีจังครับที่มีเงิน ทรัพย์สินเหลือพอที่จะคิดได้ว่ามันไม่ควรเกินกี่%

ถ้าเป็นผมๆไม่กังวลอะไรแล้ว เพราะรอบคอบขนาดนี้ คงไม่พลาดตัดสินใจอะไรแย่ๆกับแค่เรื่องจะซื้อรถซักคัน หรือหลายคันแน่นอน

ในโลกความจริง ผมเชื่อว่า คนที่ต้องซื้อรถมาใช้ส่วนตัวในสังคมเกิน 80% ต้องหมุนเงินมาซื้อทั้งนั้น คือเป็นหนี้นั่นเอง

อย่างผม ก้อเกินครึ่งเกือบ 65-70% แต่มันต้องทำกิน ใช้งานมันก้อต้องทำ เท่านั้นเองครับ

ออฟไลน์ Gottinho

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 288
เคยอ่านเจอบทความ เขียนว่า... ราคารถที่ซื้อไม่ควรเกินรายได้ทั้งปี เช่น เงินเดือน 80,000 บาท + โบนัส 5 เดือน  ดังนั้น ไม่ควรซื้อรถราคาเกิน 1,360,000 บาทครับ  :) :)

ออฟไลน์ pim_cute

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 308

โอ๊ยย ออกทะเลแล้วครับ สงสัยเราต้องคุยเรื่องการซื้อเรือแทนการซื้อรถแล้วมั้งครับ     ท่านคุยคนละประเด็น   ผมไม่เถียงประเด็นที่คุณผุดออกมานอกประเด็นที่ผมตอบในทีแรกแล้วนะ เพิ่งซื้อรถไป ไม่มีตังค์ซื้อเรือแล้วครับ มันออกนอกชายฝั่งไปไกลมาก

 เอางี้นะ  กลับมาที่คำถามของเจ้าของกระทู้นะ   ตามลำดับนะ

 1.  "เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  นั่นคือ เจ้าของกระทู้ตั้งคำถามด้วยมุมมองการตัดสินใจซื้อรถยนต์ด้วยมุมมองทางด้านทรัพย์สิน

 2.  ผมเข้าใจและทราบดีว่าการซื้อรถ 1 คัน  จะกระทบทางบัญชีอะไรบ้าง  แต่ไม่ได้พิมพ์ออกไปทั้งหมด เพราะในบอร์ดนี้ เราคุยกันด้วยแนวความคิด ไม่ใช่คุยเรื่องมาตรฐานบัญชี  แต่อธิบายให้เคลียร์ละกันว่ามันกระทบทุกงบแหละ
      2.1 งบดุล   ซึ่งคำถามของเจ้าของกระทู้อยากจะรู้ว่า มูลค่ารถยนต์ 1 คัน ควรจะมีมูลค่าสักกี่ %   ของทรัพย์สินทั้งหมดที่มี     นี่คือมุมมองหรือมิติทางด้านทรัพย์สิน
      2.2 งบกำไร-ขาดทุน    นั่นก็คือต่อจากวันที่ซื้อรถไป  จะเริ่มมีค่าใช้จ่ายของรถยนต์ 1 คัน ซึ่งประกอบไปด้วย ค่าเสื่อมราคา  ค่าซ่อมบำรุง ระยะเวลาในการใช้ การขายมูลค่าซาก   (ทั้งหมดทั้งปวงที่ท่านอธิบายมา ก็ใช้แนวทางนี้นั่นแหละ   ท่านเองก็สนับสนุนวิธีคิดแบบนี้เองด้วยซ้ำ)  นี่คือมุมมองทางด้านค่าใช้จ่าย
      2.3 งบกระแสเงินสด   นี่คือมุมมองทางด้าน Csah Flow ซึ่งอันนี้ผมไม่แตะนะ เพราะ Cash Flow ของใครของมัน  เพราะผมตั้งพื้นฐานจากการให้ความเคารพในทุกๆ ท่านในบอร์ด ไม่มีการตั้งสมมติฐานว่าจะมีคนผ่อนไม่ไหว ถือว่าผ่อนหมดผ่อนจบทุกคน   

  3.  ผมจึงเสนอมุมมองของผมว่า แทนที่จะพิจารณามุมมองทางด้านเปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ (นั่นคือมุมมองแบบ Asset Allocation)   น่าจะพิจารณามุมมองทางด้านค่าใช้จ่าย (Expense allocation) ซึ่งแม้ว่าผมจะไม่ได้ลงรายละเอียดว่าจะคิดคำนวณอย่างไร แต่เสนอให้เป็นหลักการว่ามันควรจะเป็นค่าใช้จ่ายที่ได้รับการจัดสรรหลังจากที่เราได้จัดสรรค่าใช้จ่ายจำเป็นในส่วนอื่นๆ ก่อนแล้ว     ซึ่งมาตรฐานบัญชี คำว่าค่าใช้จ่ายเค้าก็ใช้หลัก  accrual basis  กันอยู่แล้ว ผมจึงไม่ลงรายละเอียดอะไร  เหตุใดท่านจึงคิดว่าผมจะใช้วิธีคิดแบบ Cash Basis เหรอครับ  ถ้าผมจะใช้ Cash Basis ผมก็จะใช้หลักกระแสเงินสดสิครับ   

  4. ท่านมาแย้งผมโดยใช้หลักการบัญชีว่า การซื้อรถยนต์ถือเป็นสินทรัพย์ ซึ่งก็ถูกต้องแล้วตามมาตรฐานบัญชี  แต่มันคนละเรื่อง คนละประเด็นกับที่เจ้าของกระทู้ถามมา ประเด็นหลักของเค้าคือการพิจารณาตัดสินใจซื้อรถว่าควรคิดอย่างไร   ผมจึงเสนอไปว่าการพิจารณาซื้อรถไม่น่าจะมองมูลค่ารถยนต์คิดเป็นเปอร์เซนต์ของสินทรัพย์โดยรวม (Asset Allocation)  แต่ควรจะพิจารณา จากค่าใช้จ่ายแล้วจัดสรรให้มันเป็นค่าใช้จ่ายหลังจากค่าใช้จ่ายจำเป็นอื่นๆ  นั่นคือมุมมองแบบ Expense allocation

  5. คุยไปคุยมา ท่านบอกว่าการพิจารณาซื้อรถต้องคำนึงถึง การด้อยค่า หลักการคิดค่าเสื่อม ค่าบำรุงรักษา เอ้าาา ท่านก็ใช้หลักการพิจารณาจากค่าใช้จ่ายนี่หว่า

ผมได้แสดงความเห็นในส่วนของผมไปแต่ต้นแล้ว ซึ่งผมใช้วิธีในการตัดสินใจซื้อรถ     ส่วนท่านได้ให้ตอบคำถามหรือความเห็นของท่านเจ้าของกระทู้ไปหรือยังครับ ว่าตอนท่านซื้อรถท่านพิจารณาอย่างไร  ถ้ายังไม่ได้ตอบ โปรดแสดงวิธีการพิจารณาโดยใช้หลักการบัญชีของท่าน  ตอบคำถามเจ้าของกระทู้ให้ดูหน่อยนะครับ   

ปล. ผมขอย้ำอีกครั้ง ผมไม่ได้บอกว่ารถยนต์ไม่ใช่ทรัพย์สินตามหลักบัญชีนะ เดี่ยวออกทะเลอีก แค่เสนอว่าอย่าใช้มุมมองทางด้านทรัพย์สินในการตัดสินใจซื้อรถ ให้ใช้มุมมองด้านค่าใช้จ่ายในการตัดสินใจซื้อรถก็เท่านั้น  แต่ถ้าซื้อแล้ว อยู่ในพอร์ตแล้ว รถในพอร์ตผมก็นับเป็นทรัพย์สินครับ

"ผมคิดว่ารถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ครับ  มันควรจะอยู่ในหมวดค่าใช้จ่าย " ทางบัญชีมันเป็นสินทรัพย์ แล้วคุณพูดเองว่าควรจะอยู่ในหมวดค่าใช้จ่าย มันไม่ได้ออกทะเลหรอกครับ คำมันชัดเจนและขัดแย้งกับความรู้ทางบัญชี แล้วผมก็ตอบแค่เรื่องการมองรถยนต์เป็นหมวดค่าใช้จ่ายนั้นผิด แค่นั้น ไม่ได้ต้องการจะไปกล่าวถึงคำถามของเจ้าของกระทู้เลย คุณอ่านดีๆ คำถามเจ้าของกระทู้ผมตอบไปความเห็นก่อนหน้าแล้ว ตรงนี้ไม่ใช่เรื่องคำถามเลย แต่เป็นเรื่องการมองรถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นผิดแน่นอน

ตัวรถยนต์ที่จับต้องได้ และค่าใช้จ่ายที่เกิดจากรถ มันเป็นคนละส่วนกัน จะมองตัวสินทรัพย์เป็นค่าใช้จ่ายยังไงละครับ แถมสินทรัพย์ที่มีลักษณะคล้ายรถมีอีกเยอะ คุณจะมองให้เป็นค่าใช้จ่ายหมดได้เหรอ มาตรฐานอยู่ตรงไหนครับ? ความรู้ทางบัญชีมีก็นำมาใช้ครับ ดีกว่ามาคิดอะไรใหม่แล้วมันผิดเพี้ยน คำที่คุณพูดมันชัดครับ แล้วมันขัดแย้งกับความรู้ทางบัญชี ถ้าคุณใช้คำอื่นมันก็ไม่ผิดหรอกแต่นี่ไม่ใช่

มันมีด้วยเหรอครับในโลกนี้ ที่ใช้คำเดียวกัน ทางบัญชีรถยนต์เป็นสินทรัพย์ ทางอะไรดี...? ความคิดคุณ ทางค่าใช้จ่าย รถยนต์ไม่ใช่สินทรัพย์ควรเป็นค่าใช้จ่าย คุณคิดว่าอะไรน่าเชื่อถือ อะไรมีมาตรฐาน ถ้าคุณอยากจะมองในแบบของคุณจริงๆ อย่ามาใช้คำทางบัญชี ตั้งใหม่ไปเลย จะทางบัญชีหรือไม่คำมันมีความหมายตรงกันอยู่แล้วครับ ทางการเงิน ทางกฎหมาย ทางการเมือง มันไม่มีหรอกที่ความหมายจะแตกต่างกัน อาจจะมีแค่เรื่อง definition ของคำเท่านั้นที่จะแตกต่างกัน
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 07, 2020, 21:45:25 โดย pim_cute »

ออฟไลน์ D Water Law

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 292

โอ๊ยย ออกทะเลแล้วครับ สงสัยเราต้องคุยเรื่องการซื้อเรือแทนการซื้อรถแล้วมั้งครับ     ท่านคุยคนละประเด็น   ผมไม่เถียงประเด็นที่คุณผุดออกมานอกประเด็นที่ผมตอบในทีแรกแล้วนะ เพิ่งซื้อรถไป ไม่มีตังค์ซื้อเรือแล้วครับ มันออกนอกชายฝั่งไปไกลมาก

 เอางี้นะ  กลับมาที่คำถามของเจ้าของกระทู้นะ   ตามลำดับนะ

 1.  "เพื่อนๆ ซื้อรถแต่ละคันตั้งงบไว้ที่กี่เปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ทั้งหมดที่มี"  นั่นคือ เจ้าของกระทู้ตั้งคำถามด้วยมุมมองการตัดสินใจซื้อรถยนต์ด้วยมุมมองทางด้านทรัพย์สิน

 2.  ผมเข้าใจและทราบดีว่าการซื้อรถ 1 คัน  จะกระทบทางบัญชีอะไรบ้าง  แต่ไม่ได้พิมพ์ออกไปทั้งหมด เพราะในบอร์ดนี้ เราคุยกันด้วยแนวความคิด ไม่ใช่คุยเรื่องมาตรฐานบัญชี  แต่อธิบายให้เคลียร์ละกันว่ามันกระทบทุกงบแหละ
      2.1 งบดุล   ซึ่งคำถามของเจ้าของกระทู้อยากจะรู้ว่า มูลค่ารถยนต์ 1 คัน ควรจะมีมูลค่าสักกี่ %   ของทรัพย์สินทั้งหมดที่มี     นี่คือมุมมองหรือมิติทางด้านทรัพย์สิน
      2.2 งบกำไร-ขาดทุน    นั่นก็คือต่อจากวันที่ซื้อรถไป  จะเริ่มมีค่าใช้จ่ายของรถยนต์ 1 คัน ซึ่งประกอบไปด้วย ค่าเสื่อมราคา  ค่าซ่อมบำรุง ระยะเวลาในการใช้ การขายมูลค่าซาก   (ทั้งหมดทั้งปวงที่ท่านอธิบายมา ก็ใช้แนวทางนี้นั่นแหละ   ท่านเองก็สนับสนุนวิธีคิดแบบนี้เองด้วยซ้ำ)  นี่คือมุมมองทางด้านค่าใช้จ่าย
      2.3 งบกระแสเงินสด   นี่คือมุมมองทางด้าน Csah Flow ซึ่งอันนี้ผมไม่แตะนะ เพราะ Cash Flow ของใครของมัน  เพราะผมตั้งพื้นฐานจากการให้ความเคารพในทุกๆ ท่านในบอร์ด ไม่มีการตั้งสมมติฐานว่าจะมีคนผ่อนไม่ไหว ถือว่าผ่อนหมดผ่อนจบทุกคน   

  3.  ผมจึงเสนอมุมมองของผมว่า แทนที่จะพิจารณามุมมองทางด้านเปอร์เซนต์ของสินทรัพย์ (นั่นคือมุมมองแบบ Asset Allocation)   น่าจะพิจารณามุมมองทางด้านค่าใช้จ่าย (Expense allocation) ซึ่งแม้ว่าผมจะไม่ได้ลงรายละเอียดว่าจะคิดคำนวณอย่างไร แต่เสนอให้เป็นหลักการว่ามันควรจะเป็นค่าใช้จ่ายที่ได้รับการจัดสรรหลังจากที่เราได้จัดสรรค่าใช้จ่ายจำเป็นในส่วนอื่นๆ ก่อนแล้ว     ซึ่งมาตรฐานบัญชี คำว่าค่าใช้จ่ายเค้าก็ใช้หลัก  accrual basis  กันอยู่แล้ว ผมจึงไม่ลงรายละเอียดอะไร  เหตุใดท่านจึงคิดว่าผมจะใช้วิธีคิดแบบ Cash Basis เหรอครับ  ถ้าผมจะใช้ Cash Basis ผมก็จะใช้หลักกระแสเงินสดสิครับ   

  4. ท่านมาแย้งผมโดยใช้หลักการบัญชีว่า การซื้อรถยนต์ถือเป็นสินทรัพย์ ซึ่งก็ถูกต้องแล้วตามมาตรฐานบัญชี  แต่มันคนละเรื่อง คนละประเด็นกับที่เจ้าของกระทู้ถามมา ประเด็นหลักของเค้าคือการพิจารณาตัดสินใจซื้อรถว่าควรคิดอย่างไร   ผมจึงเสนอไปว่าการพิจารณาซื้อรถไม่น่าจะมองมูลค่ารถยนต์คิดเป็นเปอร์เซนต์ของสินทรัพย์โดยรวม (Asset Allocation)  แต่ควรจะพิจารณา จากค่าใช้จ่ายแล้วจัดสรรให้มันเป็นค่าใช้จ่ายหลังจากค่าใช้จ่ายจำเป็นอื่นๆ  นั่นคือมุมมองแบบ Expense allocation

  5. คุยไปคุยมา ท่านบอกว่าการพิจารณาซื้อรถต้องคำนึงถึง การด้อยค่า หลักการคิดค่าเสื่อม ค่าบำรุงรักษา เอ้าาา ท่านก็ใช้หลักการพิจารณาจากค่าใช้จ่ายนี่หว่า

ผมได้แสดงความเห็นในส่วนของผมไปแต่ต้นแล้ว ซึ่งผมใช้วิธีในการตัดสินใจซื้อรถ     ส่วนท่านได้ให้ตอบคำถามหรือความเห็นของท่านเจ้าของกระทู้ไปหรือยังครับ ว่าตอนท่านซื้อรถท่านพิจารณาอย่างไร  ถ้ายังไม่ได้ตอบ โปรดแสดงวิธีการพิจารณาโดยใช้หลักการบัญชีของท่าน  ตอบคำถามเจ้าของกระทู้ให้ดูหน่อยนะครับ   

ปล. ผมขอย้ำอีกครั้ง ผมไม่ได้บอกว่ารถยนต์ไม่ใช่ทรัพย์สินตามหลักบัญชีนะ เดี่ยวออกทะเลอีก แค่เสนอว่าอย่าใช้มุมมองทางด้านทรัพย์สินในการตัดสินใจซื้อรถ ให้ใช้มุมมองด้านค่าใช้จ่ายในการตัดสินใจซื้อรถก็เท่านั้น  แต่ถ้าซื้อแล้ว อยู่ในพอร์ตแล้ว รถในพอร์ตผมก็นับเป็นทรัพย์สินครับ

"ผมคิดว่ารถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ครับ  มันควรจะอยู่ในหมวดค่าใช้จ่าย " ทางบัญชีมันเป็นสินทรัพย์ แล้วคุณพูดเองว่าควรจะอยู่ในหมวดค่าใช้จ่าย มันไม่ได้ออกทะเลหรอกครับ คำมันชัดเจนและขัดแย้งกับความรู้ทางบัญชี แล้วผมก็ตอบแค่เรื่องการมองรถยนต์เป็นหมวดค่าใช้จ่ายนั้นผิด แค่นั้น ไม่ได้ต้องการจะไปกล่าวถึงคำถามของเจ้าของกระทู้เลย คุณอ่านดีๆ คำถามเจ้าของกระทู้ผมตอบไปความเห็นก่อนหน้าแล้ว ตรงนี้ไม่ใช่เรื่องคำถามเลย แต่เป็นเรื่องการมองรถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นผิดแน่นอน

ตัวรถยนต์ที่จับต้องได้ และค่าใช้จ่ายที่เกิดจากรถ มันเป็นคนละส่วนกัน จะมองตัวสินทรัพย์เป็นค่าใช้จ่ายยังไงละครับ แถมสินทรัพย์ที่มีลักษณะคล้ายรถมีอีกเยอะ คุณจะมองให้เป็นค่าใช้จ่ายหมดได้เหรอ มาตรฐานอยู่ตรงไหนครับ? ความรู้ทางบัญชีมีก็นำมาใช้ครับ ดีกว่ามาคิดอะไรใหม่แล้วมันผิดเพี้ยน คำที่คุณพูดมันชัดครับ แล้วมันขัดแย้งกับความรู้ทางบัญชี ถ้าคุณใช้คำอื่นมันก็ไม่ผิดหรอกแต่นี่ไม่ใช่

มันมีด้วยเหรอครับในโลกนี้ ที่ใช้คำเดียวกัน ทางบัญชีรถยนต์เป็นสินทรัพย์ ทางอะไรดี...? ความคิดคุณ ทางค่าใช้จ่าย รถยนต์ไม่ใช่สินทรัพย์ควรเป็นค่าใช้จ่าย คุณคิดว่าอะไรน่าเชื่อถือ อะไรมีมาตรฐาน ถ้าคุณอยากจะมองในแบบของคุณจริงๆ อย่ามาใช้คำทางบัญชี ตั้งใหม่ไปเลย จะทางบัญชีหรือไม่คำมันมีความหมายตรงกันอยู่แล้วครับ ทางการเงิน ทางกฎหมาย ทางการเมือง มันไม่มีหรอกที่ความหมายจะแตกต่างกัน อาจจะมีแค่เรื่อง definition ของคำเท่านั้นที่จะแตกต่างกัน


โอ๊ยยยย  ผมงงคุณตั้งนาน เพิ่งเข้าใจตอนนี้นี่เอง  นี่คุณตีความประโยคที่ผมพิมพ์ว่า  "รถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์" ตีความผิดเหรอครับเนี่ย    อันนี้ออกจากทะเล เลยไปมหาสมุทรแล้วครับ

เอาใหม่นะ ตั้งสติเข้าฝั่งก่อนนะครับ   ผมพิมพ์ตอบจากคำถามของเจ้าของกระทู้นะ ผมตอบว่า  "รถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์"   หมายความถึงว่าในการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งเราไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์   ไม่ได้บอกนะว่ามันไม่เป็นสินทรัพย์  คือจริงๆ มันเป็นสินทรัพย์นะ  แต่ในตอนพิจารณาเพื่อการตัดสินใจผมเสนอว่า ไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์    ไม่ได้บอกนะว่ามันไม่เป็นหมวดสินทรัพย์

เอาใหม่อีกทีนะ ผมดึงประโยคนั้นมาอีกทีว่า "ในการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์"    ผมไม่ได้บอกว่านะว่ามันไม่เป็นสินทรัพย์ทางบัญชีนะท่าน     แต่ๆๆๆๆๆ   ผมมีมุมมองในการตัดสินใจว่า  "ในการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งเราไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์"   เอานะ ขอย้ำอีกทีว่า "ไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์" อันนี้ก็เพื่อใช้ในการตัดสินใจนะครับ ซึ่ง "ไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์"  ไม่เท่ากับประโยคว่า มันไม่เป็นสินทรัพย์ นะครับ   ขอซ้ำหลายรอบหน่อย กลัวท่านจะไม่เข้าใจจริงๆ 

รถยนต์ทางบัญชีเป็นสินทรัพย์อันนี้ใครๆ ก็รู้ครับ ท่านยังคิดว่ามีคนไม่รู้ ถึงกับต้องเรียกคนอื่นไปศึกษาเพิ่มเลยเหรอครับ  ตลกจังครับ   555+   

ผมขอแย้งท่านบ้างนะครับ

1. การมองรถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นผิดแน่นอน   --> ท่านเคยตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งให้ผู้บริหารมั้ยครับ  เวลาท่านคิด ท่านคิดอย่างไร ช่วยเสนอมาให้ดูในมุมมองที่ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายให้ดูเป็นตัวอย่างหน่อยครับ   ตั้งแต่ผมเป็นกรรมการมากี่องค์กร การซื้อรถยนต์ให้ผู้บริหาร เค้าก็คำนวณออกมาเป็นค่าใช้จ่ายรายปี แล้วเอามาเทียบกับ รายได้ กับค่าใช้จ่ายที่เค้า  projection กันทุกองค์กรนะท่าน   แล้วที่ท่านบอกว่ารถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นผิดแน่นอน   ที่ถูกต้องของท่านต้องคิดยังงัยครับ  แต่ เอ... คุ้นๆ ว่าท่านก็บอกเองนะ ว่ามันต้องคิดเป็นค่าเสื่อมราคา  ค่าบำรุงรักษา อะไรพวกนี้อ่ะ ตกลงยังงัยดีเอ่ยย

2. สินทรัพย์ที่มีลักษณะคล้ายรถมีอีกเยอะ คุณจะมองให้เป็นค่าใช้จ่ายหมดได้เหรอ มาตรฐานอยู่ตรงไหน  --> อยู่ตรงที่ว่ามันก่อให้เกิดรายได้หรือหรือเพื่อใช้ในการรันธุรกิจหลักของบริษัทฯ หรือเปล่างัยครับ  ถ้ามันก่อให้เกิดรายได้หรือเพื่อใช้ในการรันธุรกิจหลักของบริษัทฯ    ในเวลาตัดสินใจเค้าจะมองมันเป็นการลงทุน  ตัวอย่างก็เช่น การซื้อเครื่องจักรเพื่อเพิ่มกำลังการผลิต  การทำโครงการส่งเสริมการตลาด     แต่ถ้าตรงกันข้าม อย่างเช่นรถยนต์นั่งผู้บริหาร ถือเป็นทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้  เวลาคิดเค้ามองในแง่ว่าเป็นค่าใช้จ่ายทั้งนั้นแหละครับ  ค่าใช้จ่ายพวกนี้เค้าทยอยตัดจ่ายลงเป็นค่าใช้จ่ายในงบ Projection กันหมดนะ

ถามกลับบ้าง   เวลาท่านตัดสินใจซื้อทรัพย์สินพวกนี้ในบริษัทของท่าน บริษัทของท่านมองเป็นสินทรัพย์เหมือนกันหมดเลยเหรอครับ   อยากรู้ของบริษัทท่านบ้างครับ

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 08, 2020, 00:07:56 โดย kittik25 »

ออฟไลน์ pladaek

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,021
  • FF1.5SMG
ไม่เคยเอาสินทรัพย์มาคิดครับ
เพราะถ้านับสินทรัพย์จริงๆ ผมมีเยอะมาก
แต่รายได้ที่ผมสามารถหาได้แต่ละเดือนมันไม่เยอะเหมือนสินทรัพย์
ผมจึงใช้รายได้หลักๆเป็นตัวแปรในการตั้งงบครับ
ไม่ได้ขับรถเพื่อทำเวลาที่ดีที่สุด.. แต่ขับรถเพื่อเจอช่วงเวลาที่ดีที่สุด..

ออฟไลน์ pim_cute

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 308

1. การมองรถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นผิดแน่นอน   --> ท่านเคยตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งให้ผู้บริหารมั้ยครับ  เวลาท่านคิด ท่านคิดอย่างไร ช่วยเสนอมาให้ดูในมุมมองที่ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายให้ดูเป็นตัวอย่างหน่อยครับ   ตั้งแต่ผมเป็นกรรมการมากี่องค์กร การซื้อรถยนต์ให้ผู้บริหาร เค้าก็คำนวณออกมาเป็นค่าใช้จ่ายรายปี แล้วเอามาเทียบกับ รายได้ กับค่าใช้จ่ายที่เค้า  projection กันทุกองค์กรนะท่าน   แล้วที่ท่านบอกว่ารถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นผิดแน่นอน   ที่ถูกต้องของท่านต้องคิดยังงัยครับ  แต่ เอ... คุ้นๆ ว่าท่านก็บอกเองนะ ว่ามันต้องคิดเป็นค่าเสื่อมราคา  ค่าบำรุงรักษา อะไรพวกนี้อ่ะ ตกลงยังงัยดีเอ่ยย

2. สินทรัพย์ที่มีลักษณะคล้ายรถมีอีกเยอะ คุณจะมองให้เป็นค่าใช้จ่ายหมดได้เหรอ มาตรฐานอยู่ตรงไหน  --> อยู่ตรงที่ว่ามันก่อให้เกิดรายได้หรือหรือเพื่อใช้ในการรันธุรกิจหลักของบริษัทฯ หรือเปล่างัยครับ  ถ้ามันก่อให้เกิดรายได้หรือเพื่อใช้ในการรันธุรกิจหลักของบริษัทฯ    ในเวลาตัดสินใจเค้าจะมองมันเป็นการลงทุน  ตัวอย่างก็เช่น การซื้อเครื่องจักรเพื่อเพิ่มกำลังการผลิต  การทำโครงการส่งเสริมการตลาด     แต่ถ้าตรงกันข้าม อย่างเช่นรถยนต์นั่งผู้บริหาร ถือเป็นทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้  เวลาคิดเค้ามองในแง่ว่าเป็นค่าใช้จ่ายทั้งนั้นแหละครับ  ค่าใช้จ่ายพวกนี้เค้าทยอยตัดจ่ายลงเป็นค่าใช้จ่ายในงบ Projection กันหมดนะ

ถามกลับบ้าง   เวลาท่านตัดสินใจซื้อทรัพย์สินพวกนี้ในบริษัทของท่าน บริษัทของท่านมองเป็นสินทรัพย์เหมือนกันหมดเลยเหรอครับ   อยากรู้ของบริษัทท่านบ้างครับ

คุณฟังที่ผมพูดไม่เข้าใจมากกว่าครับ เพราะคุณเอาแต่จะมองในแบบตัวเองเท่านั้น แต่ผมไม่ได้ทำแบบนั้นมองไปตามสิ่งที่มันควรจะเป็น

"รถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ หมายความถึงว่าในการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งเราไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์   ไม่ได้บอกนะว่ามันไม่เป็นสินทรัพย์" ตรงนี้เข้าใจแล้วไงครับ ผมก็ชี้แจงไปแล้วไงครับ ว่าค่าใช้จ่ายที่เกิดจากตัวรถ กับตัวรถยนต์จริงๆ มันคนละส่วนกัน คุณเล่นเอามารวมกัน จะให้มองตัวรถเป็นค่าใช้จ่ายได้ยังไง ในเมื่อมันไม่ใช่สิ่งที่ใช้จ่ายแล้วจบไป ตัวมันมีมูลค่าในตัวมันเอง แล้วค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากรถ ผมก็ไล่ให้คุณดูแล้วว่ามันคือ ค่าเสื่อม ค่าซ่อม อื่นๆ ไม่ใช่ตัวสินทรัพย์เลย อย่าเอาแต่มองมุมที่ตัวเองคิดขึ้นมาสิครับ ใครจะไปเข้าใจ ผมมองตามบัญชี แล้วถ้าเกิดมีใครมองรถเป็นรายได้ขึ้นมาอีก คุณคิดว่าผมควรจะเข้าใจไหม โลกนี้ไม่ได้มีแค่คุณนะครับ ยังมีอีกเยอะ ผมรับฟังครับ แต่ต้องมีมาตรฐาน เหตุผลรองรับที่ดี แต่ของคุณถ้าไปเทียบกับบ้านที่มีลักษณะคล้ายรถ มันจะกลายเป็นว่าทุกอย่างกลายเป็นค่าใช้จ่ายไปหมด คราวนี้แหละสนุกครับ

1. อันนี้ผมก็ตอบไปแล้ว เพราะคุณซื้อรถยนต์นั่งให้ผู้บริหาร ถ้าไม่อยากรับเป็นภาระค่าใช้จ่าย ก็ลงเป็นถอนใช้ส่วนตัวไงครับ มันจะออกจากงบบริษัทไปเลย แล้วไปทำงบของตัวท่านเองรถยนต์มันก็จะไปโผล่ในนั้น แต่ถ้าหากคุณไม่ได้เป็นเจ้าของบริษัท เป็นแค่ผู้บริหาร ทำไมถึงไม่เข้าใจครับ บริษัทซื้อรถให้ผู้บริหารทำไม? เพราะคุณมองแค่ว่ามันไม่ได้สร้างรายได้ตรงๆ แต่มันสร้างรายได้ทางอ้อมครับ รายได้จากรถยนต์นั่งผู้บริหารทางอ้อมคือแรงงานจากผู้บริหารไงครับ(มันเป็นต้นทุนในการจ้างเขา) ถ้าหากการซื้อรถยนต์นั่งไม่สร้างรายได้เลย ไม่มีประโยชน์เลยจริงๆ คุณลองคิดกลับนะ งั้นบริษัทไม่จำเป็นต้องซื้อ จะมีผลต่อการทำงานของผู้บริหารไหม ทั้งหน้าตา ชื่อเสียงของบริษัท การตั้งใจทำงานของผู้บริหาร สิ่งพวกนี้มีอยู่เพียงแต่ตีมูลค่าเป็นตัวเงินไม่ได้
คำตอบนั้นง่ายมาก ถ้ามันเป็นเพียงแค่ค่าใช้จ่าย ไม่มีผลทางอ้อมแบบที่ผมว่ามา งั้นบริษัทก็ไม่จำเป็นต้องซื้อแต่แรกเลยครับ

2. นั่นไงครับ คุณตีความตามงบบริษัท ซึ่งพันธกิจคือ กำไรสูงสุด มันแน่นอนอยู่แล้วว่ารถยนต์ถ้าเอามาให้เจ้าของ มันไม่สร้างรายได้แน่ ผมถึงได้บอกคุณไงครับว่าให้เอาไปประยุต์ใช้กับงบการเงิน ทำบัญชีของตัวเอง พันธกิจมันจะต่างออกไป สินทรัพย์ของคุณจะกลายเป็นสิ่งที่สร้างคุณภาพชีวิต ไม่ใช่สร้างรายได้ แยกบัญชีบริษัทกับบัญชีตัวเองก่อนครับ คุณพูดเหตุผลเกี่ยวกับบัญชีบริษัท แต่ซื้อรถยนต์นั่งให้ตัวเอง แน่นอนมันต้องไม่สร้างรายได้ มีแต่ค่าใช้จ่ายอยู่แล้ว เอาจริงๆ ถ้าคุณอ่านที่ผมพูดให้เข้าใจ ผมไม่ต้องตอบซ้ำหรอก เรื่องพวกนี้ผมพูดไปก่อนหน้านี้แล้วด้วยซ้ำ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 08, 2020, 12:10:05 โดย pim_cute »

ออฟไลน์ D Water Law

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 292

1. การมองรถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นผิดแน่นอน   --> ท่านเคยตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งให้ผู้บริหารมั้ยครับ  เวลาท่านคิด ท่านคิดอย่างไร ช่วยเสนอมาให้ดูในมุมมองที่ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายให้ดูเป็นตัวอย่างหน่อยครับ   ตั้งแต่ผมเป็นกรรมการมากี่องค์กร การซื้อรถยนต์ให้ผู้บริหาร เค้าก็คำนวณออกมาเป็นค่าใช้จ่ายรายปี แล้วเอามาเทียบกับ รายได้ กับค่าใช้จ่ายที่เค้า  projection กันทุกองค์กรนะท่าน   แล้วที่ท่านบอกว่ารถยนต์เป็นค่าใช้จ่ายนั้นผิดแน่นอน   ที่ถูกต้องของท่านต้องคิดยังงัยครับ  แต่ เอ... คุ้นๆ ว่าท่านก็บอกเองนะ ว่ามันต้องคิดเป็นค่าเสื่อมราคา  ค่าบำรุงรักษา อะไรพวกนี้อ่ะ ตกลงยังงัยดีเอ่ยย

2. สินทรัพย์ที่มีลักษณะคล้ายรถมีอีกเยอะ คุณจะมองให้เป็นค่าใช้จ่ายหมดได้เหรอ มาตรฐานอยู่ตรงไหน  --> อยู่ตรงที่ว่ามันก่อให้เกิดรายได้หรือหรือเพื่อใช้ในการรันธุรกิจหลักของบริษัทฯ หรือเปล่างัยครับ  ถ้ามันก่อให้เกิดรายได้หรือเพื่อใช้ในการรันธุรกิจหลักของบริษัทฯ    ในเวลาตัดสินใจเค้าจะมองมันเป็นการลงทุน  ตัวอย่างก็เช่น การซื้อเครื่องจักรเพื่อเพิ่มกำลังการผลิต  การทำโครงการส่งเสริมการตลาด     แต่ถ้าตรงกันข้าม อย่างเช่นรถยนต์นั่งผู้บริหาร ถือเป็นทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้  เวลาคิดเค้ามองในแง่ว่าเป็นค่าใช้จ่ายทั้งนั้นแหละครับ  ค่าใช้จ่ายพวกนี้เค้าทยอยตัดจ่ายลงเป็นค่าใช้จ่ายในงบ Projection กันหมดนะ

ถามกลับบ้าง   เวลาท่านตัดสินใจซื้อทรัพย์สินพวกนี้ในบริษัทของท่าน บริษัทของท่านมองเป็นสินทรัพย์เหมือนกันหมดเลยเหรอครับ   อยากรู้ของบริษัทท่านบ้างครับ

คุณฟังที่ผมพูดไม่เข้าใจมากกว่าครับ เพราะคุณเอาแต่จะมองในแบบตัวเองเท่านั้น แต่ผมไม่ได้ทำแบบนั้นมองไปตามสิ่งที่มันควรจะเป็น

"รถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ หมายความถึงว่าในการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งเราไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์   ไม่ได้บอกนะว่ามันไม่เป็นสินทรัพย์" ตรงนี้เข้าใจแล้วไงครับ ผมก็ชี้แจงไปแล้วไงครับ ว่าค่าใช้จ่ายที่เกิดจากตัวรถ กับตัวรถยนต์จริงๆ มันคนละส่วนกัน คุณเล่นเอามารวมกัน จะให้มองตัวรถเป็นค่าใช้จ่ายได้ยังไง ในเมื่อมันไม่ใช่สิ่งที่ใช้จ่ายแล้วจบไป ตัวมันมีมูลค่าในตัวมันเอง แล้วค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากรถ ผมก็ไล่ให้คุณดูแล้วว่ามันคือ ค่าเสื่อม ค่าซ่อม อื่นๆ ไม่ใช่ตัวสินทรัพย์เลย อย่าเอาแต่มองมุมที่ตัวเองคิดขึ้นมาสิครับ ใครจะไปเข้าใจ ผมมองตามบัญชี แล้วถ้าเกิดมีใครมองรถเป็นรายได้ขึ้นมาอีก คุณคิดว่าผมควรจะเข้าใจไหม โลกนี้ไม่ได้มีแค่คุณนะครับ ยังมีอีกเยอะ ผมรับฟังครับ แต่ต้องมีมาตรฐาน เหตุผลรองรับที่ดี แต่ของคุณถ้าไปเทียบกับบ้านที่มีลักษณะคล้ายรถ มันจะกลายเป็นว่าทุกอย่างกลายเป็นค่าใช้จ่ายไปหมด คราวนี้แหละสนุกครับ

1. อันนี้ผมก็ตอบไปแล้ว เพราะคุณซื้อรถยนต์นั่งให้ผู้บริหาร ถ้าไม่อยากรับเป็นภาระค่าใช้จ่าย ก็ลงเป็นถอนใช้ส่วนตัวไงครับ มันจะออกจากงบบริษัทไปเลย แล้วไปทำงบของตัวท่านเองรถยนต์มันก็จะไปโผล่ในนั้น แต่ถ้าหากคุณไม่ได้เป็นเจ้าของบริษัท เป็นแค่ผู้บริหาร ทำไมถึงไม่เข้าใจครับ บริษัทซื้อรถให้ผู้บริหารทำไม? เพราะคุณมองแค่ว่ามันไม่ได้สร้างรายได้ตรงๆ แต่มันสร้างรายได้ทางอ้อมครับ รายได้จากรถยนต์นั่งผู้บริหารทางอ้อมคือแรงงานจากผู้บริหารไงครับ(มันเป็นต้นทุนในการจ้างเขา) ถ้าหากการซื้อรถยนต์นั่งไม่สร้างรายได้เลย ไม่มีประโยชน์เลยจริงๆ คุณลองคิดกลับนะ งั้นบริษัทไม่จำเป็นต้องซื้อ จะมีผลต่อการทำงานของผู้บริหารไหม ทั้งหน้าตา ชื่อเสียงของบริษัท การตั้งใจทำงานของผู้บริหาร สิ่งพวกนี้มีอยู่เพียงแต่ตีมูลค่าเป็นตัวเงินไม่ได้
คำตอบนั้นง่ายมาก ถ้ามันเป็นเพียงแค่ค่าใช้จ่าย ไม่มีผลทางอ้อมแบบที่ผมว่ามา งั้นบริษัทก็ไม่จำเป็นต้องซื้อแต่แรกเลยครับ

2. นั่นไงครับ คุณตีความตามงบบริษัท ซึ่งพันธกิจคือ กำไรสูงสุด มันแน่นอนอยู่แล้วว่ารถยนต์ถ้าเอามาให้เจ้าของ มันไม่สร้างรายได้แน่ ผมถึงได้บอกคุณไงครับว่าให้เอาไปประยุต์ใช้กับงบการเงิน ทำบัญชีของตัวเอง พันธกิจมันจะต่างออกไป สินทรัพย์ของคุณจะกลายเป็นสิ่งที่สร้างคุณภาพชีวิต ไม่ใช่สร้างรายได้ แยกบัญชีบริษัทกับบัญชีตัวเองก่อนครับ คุณพูดเหตุผลเกี่ยวกับบัญชีบริษัท แต่ซื้อรถยนต์นั่งให้ตัวเอง แน่นอนมันต้องไม่สร้างรายได้ มีแต่ค่าใช้จ่ายอยู่แล้ว เอาจริงๆ ถ้าคุณอ่านที่ผมพูดให้เข้าใจ ผมไม่ต้องตอบซ้ำหรอก เรื่องพวกนี้ผมพูดไปก่อนหน้านี้แล้วด้วยซ้ำ





ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากตัวรถ กับตัวรถยนต์จริงๆ มันคนละส่วนกัน คุณเล่นเอามารวมกัน จะให้มองตัวรถเป็นค่าใช้จ่ายได้ยังไง --> ออกทะเลไปไกลจริงๆ อันนี้เจ้าของกระทู้ถามแนวทางตัดสินใจซื้อรถ  ก็ผมก็บอกแต่ต้นแล้วงัยว่าในการพิจารณาซื้อรถของผม ผมจะพิจารณาอย่างนี้  แนวความคิดของผมแบบนี้มันก็เรื่องของผม   ผมตอบเจ้าของกระทู้  ย้ำนะ "ผมตอบเจ้าของกระทู้"  ผมไม่ได้กางตำรามาดำเนินชีวิต เพื่อมาเสนอท่านอนุมัตินะครับ   สำคัญตัวผิดหรือป่าว



ผมถึงได้บอกคุณไงครับว่าให้เอาไปประยุต์ใช้กับงบการเงิน ทำบัญชีของตัวเอง    --> นี่คือหลักฐานที่ชัดเจนว่า คุณออกนอกประเด็นไปไกลมากๆ เรื่องที่ผมถามท่าน ท่านก็ไม่ตอบ   ผมไม่ได้ถามท่านเรื่องนี้  ย้ำนะ ผมไม่ได้ถามท่านเรื่องนี้ มาแนะนำผมทำไมอ่ะ   ใครถาม???   ถ้าคุณอยากจะเสนออะไร ก็ไปเสนอให้กับคนที่อยากรู้สิครับ   มาแนะนำผมทำไมอ่ะ งงมากๆ     แล้วไม่ต้องพิมพ์ซ้ำอีกนะนะ เพราะผมไม่ได้อ่านหรอก  เรื่องนอกประเด็นผมไม่อยากเสียเวลาอ่าน


สรุปเหตุการณ์หลักๆ ของพฤติกรรมท่านนะ

1. คุณมาแย้งว่า ผมบอกว่ารถไม่เป็นสินทรัพย์ แล้วไล่ผมไปศึกษาความรู้ทางบัญชี   พร้อมกับโชว์ความรู้ทางบัญชีโน่นนี่ ถูกบ้าง ผิดบ้าง  แต่ทั้งหมดทั้งปวงที่ไม่เกี่ยวกับประเด็นที่เจ้าของกระทู้ถามเลย  (ผมหาคำตอบของท่านที่ตอบเจ้ากระทู้ไม่เจอจริงๆ นะ )

2. ผมใช้เวลานานมากๆๆ  กว่าจะอธิบายให้คุณเข้าใจได้ว่า  คุณแปลความผิด คุณเข้าใจประโยคผิดโดยสิ้นเชิง   แล้วคุณก็เข้าใจไปแล้วนะ ตามที่คุณพิมพ์มาเอง    ["รถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ หมายความถึงว่าในการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งเราไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์   ไม่ได้บอกนะว่ามันไม่เป็นสินทรัพย์" ตรงนี้เข้าใจแล้วไงครับ ]     เฮ้อ..... เข้าใจซะทีนะ ประโยคเดียวนี่มันยากขนาดต้องอธิยายขนาดนี้เลยเหรอ   

ปล. ผมเล่นกับเด็ก 6 ขวบแถวบ้านนะ  เอาพัดมาเล่นเป็นกระทะ เอาไม้ตีแมลงวันมาเล่นเป็นตาหลิว  เล่นทำกับข้าวกัน    แล้วผมบอกเด็กๆ ว่า "พัดอันนี้ให้คิดว่ามันเป็นกระทะ  ไม้ตีแมลงวันให้คิดว่าเป็นตะหลิวกันนะ"   เด็ก 6 ขวบยังเข้าใจความหมายของประโยคนี้เลย   ไม่มีเด็กคนไหนคิดว่ามันเป็นกระทะ หรือเป็นตะหลิวจริงๆ สักคน  แล้วก็ไม่มีเด็กคนไหนอวดฉลาดขึ้นมาแย้งผมนะว่า พัดไม่ใช่กระทะ ไม้ตีแมลงวันไม่ใช่ตาหลิว  เพราะเค้าเข้าใจโครงสร้างประโยคกันหมดมั้ง


3. สรุปว่า ตั้งแต่แรกเริ่มเลย ผมไม่ได้เข้าใจผิดเรื่องบัญชีสินทรัพย์  เป็นคุณที่ ตีความหมายของภาษาไทยไปผิดเอง  ตกลงท่านเข้าใจสิ่งที่ถูกไปแล้วนะ 



จากที่สรุปมาอีกครั้ง ---> เอาตรงๆ นะ พฤติกรรมของท่านอ่ะนะ    เริ่มจากเข้าใจคำพูดคนอื่นผิดเอง ตีความประโยคผิดเอง  เข้าใจผิดถึงขนาดไล่คนอื่นไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม    ภายหลังจากที่ได้รับการอธิบายอย่างหนักหน่วง  สรุปว่าคุณทราบแล้วว่าคุณเข้าใจผิด

ถ้าเป็นคนปกติที่ผมเจอมานะ  ถ้าเกิดมีการเข้าใจผิดเองว่าคนอื่นไม่รู้  เข้าใจผิดเองแล้วยังไล่เค้าไปหาความรู้เพิ่มเติม  ภายหลังทราบว่าตัวเองเข้าใจผิด   คนที่มีมารยาททั่วไป-มีมารยาทน้อยก็เถอะ เค้าต้องขอโทษออกมาแล้วนะครับ

แต่กับท่านนี่นะ  ไม่มีคำขอโทษใดใด  แถมยังมีหน้ามาอธิบายแนวทาง 180-1009 ให้กับคนที่ไม่ได้ถาม  ไม่ได้ต้องการจะรับฟังอะไรจากท่านเลยแม้แต่น้อย   คำอธิบายใช้แทนคำขอโทษไม่ได้นะครับ

สกิลท่านสุดยอดจริงๆ ครับ  นับว่าหายากยิ่ง ผมต้องขอคารวะท่านนะ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 08, 2020, 18:19:12 โดย kittik25 »

ออฟไลน์ Carcassonne

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 4
ผมว่ากี่เปอร์เซนต์ขึ้นกับขนาดของ net worth ด้วยครับ

กลุ่ม 1.ถ้ามีสินทรัพย์ยังไม่มาก แล้วจำเป็นต้องใช้รถยนต์ อัตราส่วนของเงินซื้อรถ ต่อ สินทรัพย์ก็จะสูงมาก

กลุ่ม 2. สินทรัพย์มากขึ้นมา ต้องการซื้อรถยุโรปคันแรก ความเห็นผมคือ ราคาที่จ่ายซื้อ รถทุกคันรวมกัน ไม่ควรเกิน 10%

กลุ่ม 3. สินทรัพย์เยอะมากๆ net worth สูง อันนี้ ผมอยากถามความเห็นท่านอื่นๆครับ ว่าควรเป็นเช่นไร
a) รวยมากแล้ว เงินเหลือมากแล้ว ถ้าชอบรถมาก จะใช้เงินซื้อรถเป็น % สูงกว่ากลุ่ม 2. ก็ได้
b) ใช้เงินแค่ 1-2% ก็ได้รถราคาแพงมากแล้ว เพราะฉนั้น ควรเป็น % น้อยกว่ากลุ่ม 2.

ออฟไลน์ basterias

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,793
ผมว่ากี่เปอร์เซนต์ขึ้นกับขนาดของ net worth ด้วยครับ

กลุ่ม 1.ถ้ามีสินทรัพย์ยังไม่มาก แล้วจำเป็นต้องใช้รถยนต์ อัตราส่วนของเงินซื้อรถ ต่อ สินทรัพย์ก็จะสูงมาก

กลุ่ม 2. สินทรัพย์มากขึ้นมา ต้องการซื้อรถยุโรปคันแรก ความเห็นผมคือ ราคาที่จ่ายซื้อ รถทุกคันรวมกัน ไม่ควรเกิน 10%

กลุ่ม 3. สินทรัพย์เยอะมากๆ net worth สูง อันนี้ ผมอยากถามความเห็นท่านอื่นๆครับ ว่าควรเป็นเช่นไร
a) รวยมากแล้ว เงินเหลือมากแล้ว ถ้าชอบรถมาก จะใช้เงินซื้อรถเป็น % สูงกว่ากลุ่ม 2. ก็ได้
b) ใช้เงินแค่ 1-2% ก็ได้รถราคาแพงมากแล้ว เพราะฉนั้น ควรเป็น % น้อยกว่ากลุ่ม 2.


ผมเดาว่านะจะข้อ b จากการสังเกตรถที่จอดในคอนโดกลางกรุง ยกเว้นแต่ว่าจะซื้อรถแบบ bugatti
Current cars:
2018 - Volvo XC60 T8 R-design (Stock)
2020 - Mercedes C43 Sedan FL (tuned)
(Review https://community.headlightmag.com/index.php?topic=79186.0)
2021 - BMW 530e M sport LCI (Stock)
(Review https://community.headlightmag.com/index.php?topic=79736.0)

ออฟไลน์ D Water Law

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 292
ผมว่ากี่เปอร์เซนต์ขึ้นกับขนาดของ net worth ด้วยครับ

กลุ่ม 1.ถ้ามีสินทรัพย์ยังไม่มาก แล้วจำเป็นต้องใช้รถยนต์ อัตราส่วนของเงินซื้อรถ ต่อ สินทรัพย์ก็จะสูงมาก

กลุ่ม 2. สินทรัพย์มากขึ้นมา ต้องการซื้อรถยุโรปคันแรก ความเห็นผมคือ ราคาที่จ่ายซื้อ รถทุกคันรวมกัน ไม่ควรเกิน 10%

กลุ่ม 3. สินทรัพย์เยอะมากๆ net worth สูง อันนี้ ผมอยากถามความเห็นท่านอื่นๆครับ ว่าควรเป็นเช่นไร
a) รวยมากแล้ว เงินเหลือมากแล้ว ถ้าชอบรถมาก จะใช้เงินซื้อรถเป็น % สูงกว่ากลุ่ม 2. ก็ได้
b) ใช้เงินแค่ 1-2% ก็ได้รถราคาแพงมากแล้ว เพราะฉนั้น ควรเป็น % น้อยกว่ากลุ่ม 2.

คิดว่าคนส่วนใหญ่น่าจะเป็น b นะครับ  เว้นแต่คนที่คลั่งไคล้รถมากๆ อาจจะมีไว้หลายคัน มีไว้สะสม อาจจะเป็น a ได้บ้าง

ออฟไลน์ tvm

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,488
ต่างกันทุกคนแหล่ะครับ แนะนำตามท่านบนๆ ลองหากระทู้เก่าๆ คนชอบถามแนวนี้เยอะ น่าจะช่วยอ้างอิงคุณได้อีกล่ะ

ออฟไลน์ pim_cute

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 308
ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากตัวรถ กับตัวรถยนต์จริงๆ มันคนละส่วนกัน คุณเล่นเอามารวมกัน จะให้มองตัวรถเป็นค่าใช้จ่ายได้ยังไง --> ออกทะเลไปไกลจริงๆ อันนี้เจ้าของกระทู้ถามแนวทางตัดสินใจซื้อรถ  ก็ผมก็บอกแต่ต้นแล้วงัยว่าในการพิจารณาซื้อรถของผม ผมจะพิจารณาอย่างนี้  แนวความคิดของผมแบบนี้มันก็เรื่องของผม   ผมตอบเจ้าของกระทู้  ย้ำนะ "ผมตอบเจ้าของกระทู้"  ผมไม่ได้กางตำรามาดำเนินชีวิต เพื่อมาเสนอท่านอนุมัตินะครับ   สำคัญตัวผิดหรือป่าว



ผมถึงได้บอกคุณไงครับว่าให้เอาไปประยุต์ใช้กับงบการเงิน ทำบัญชีของตัวเอง    --> นี่คือหลักฐานที่ชัดเจนว่า คุณออกนอกประเด็นไปไกลมากๆ เรื่องที่ผมถามท่าน ท่านก็ไม่ตอบ   ผมไม่ได้ถามท่านเรื่องนี้  ย้ำนะ ผมไม่ได้ถามท่านเรื่องนี้ มาแนะนำผมทำไมอ่ะ   ใครถาม???   ถ้าคุณอยากจะเสนออะไร ก็ไปเสนอให้กับคนที่อยากรู้สิครับ   มาแนะนำผมทำไมอ่ะ งงมากๆ     แล้วไม่ต้องพิมพ์ซ้ำอีกนะนะ เพราะผมไม่ได้อ่านหรอก  เรื่องนอกประเด็นผมไม่อยากเสียเวลาอ่าน


สรุปเหตุการณ์หลักๆ ของพฤติกรรมท่านนะ

1. คุณมาแย้งว่า ผมบอกว่ารถไม่เป็นสินทรัพย์ แล้วไล่ผมไปศึกษาความรู้ทางบัญชี   พร้อมกับโชว์ความรู้ทางบัญชีโน่นนี่ ถูกบ้าง ผิดบ้าง  แต่ทั้งหมดทั้งปวงที่ไม่เกี่ยวกับประเด็นที่เจ้าของกระทู้ถามเลย  (ผมหาคำตอบของท่านที่ตอบเจ้ากระทู้ไม่เจอจริงๆ นะ )

2. ผมใช้เวลานานมากๆๆ  กว่าจะอธิบายให้คุณเข้าใจได้ว่า  คุณแปลความผิด คุณเข้าใจประโยคผิดโดยสิ้นเชิง   แล้วคุณก็เข้าใจไปแล้วนะ ตามที่คุณพิมพ์มาเอง    ["รถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ หมายความถึงว่าในการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งเราไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์   ไม่ได้บอกนะว่ามันไม่เป็นสินทรัพย์" ตรงนี้เข้าใจแล้วไงครับ ]     เฮ้อ..... เข้าใจซะทีนะ ประโยคเดียวนี่มันยากขนาดต้องอธิยายขนาดนี้เลยเหรอ   

ปล. ผมเล่นกับเด็ก 6 ขวบแถวบ้านนะ  เอาพัดมาเล่นเป็นกระทะ เอาไม้ตีแมลงวันมาเล่นเป็นตาหลิว  เล่นทำกับข้าวกัน    แล้วผมบอกเด็กๆ ว่า "พัดอันนี้ให้คิดว่ามันเป็นกระทะ  ไม้ตีแมลงวันให้คิดว่าเป็นตะหลิวกันนะ"   เด็ก 6 ขวบยังเข้าใจความหมายของประโยคนี้เลย   ไม่มีเด็กคนไหนคิดว่ามันเป็นกระทะ หรือเป็นตะหลิวจริงๆ สักคน  แล้วก็ไม่มีเด็กคนไหนอวดฉลาดขึ้นมาแย้งผมนะว่า พัดไม่ใช่กระทะ ไม้ตีแมลงวันไม่ใช่ตาหลิว  เพราะเค้าเข้าใจโครงสร้างประโยคกันหมดมั้ง


3. สรุปว่า ตั้งแต่แรกเริ่มเลย ผมไม่ได้เข้าใจผิดเรื่องบัญชีสินทรัพย์  เป็นคุณที่ ตีความหมายของภาษาไทยไปผิดเอง  ตกลงท่านเข้าใจสิ่งที่ถูกไปแล้วนะ 



จากที่สรุปมาอีกครั้ง ---> เอาตรงๆ นะ พฤติกรรมของท่านอ่ะนะ    เริ่มจากเข้าใจคำพูดคนอื่นผิดเอง ตีความประโยคผิดเอง  เข้าใจผิดถึงขนาดไล่คนอื่นไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม    ภายหลังจากที่ได้รับการอธิบายอย่างหนักหน่วง  สรุปว่าคุณทราบแล้วว่าคุณเข้าใจผิด

ถ้าเป็นคนปกติที่ผมเจอมานะ  ถ้าเกิดมีการเข้าใจผิดเองว่าคนอื่นไม่รู้  เข้าใจผิดเองแล้วยังไล่เค้าไปหาความรู้เพิ่มเติม  ภายหลังทราบว่าตัวเองเข้าใจผิด   คนที่มีมารยาททั่วไป-มีมารยาทน้อยก็เถอะ เค้าต้องขอโทษออกมาแล้วนะครับ

แต่กับท่านนี่นะ  ไม่มีคำขอโทษใดใด  แถมยังมีหน้ามาอธิบายแนวทาง 180-1009 ให้กับคนที่ไม่ได้ถาม  ไม่ได้ต้องการจะรับฟังอะไรจากท่านเลยแม้แต่น้อย   คำอธิบายใช้แทนคำขอโทษไม่ได้นะครับ

สกิลท่านสุดยอดจริงๆ ครับ  นับว่าหายากยิ่ง ผมต้องขอคารวะท่านนะ

คุณครับ เข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของผมมันไม่มีหรือยังไง ผมแย้ง ผมก็มีสิทธิแย้งไหม คุณจะอนุมัติรึเปล่ามันก็เรื่องของคุณ ผมไม่ได้ขอให้ทำ
ตลกไหมครับ การที่จะมาห้ามคนอื่นแสดงความเห็นในที่สาธารณะ หากไม่ต้องการถกเถียงในประเด็น แบบนี้ก็แปลว่าไม่มีเหตุผลแล้ว และผมก็พูดอยู่ในประเด็นหมด คุณไม่เข้าใจแล้วก็บอกออกทะเลเองมากกว่า

ผมจะบอกให้นะครับ ทุกคนมีสิทธิพูด คุณจะห้ามคนอื่นพูดยังไง ห้ามได้หรือ แล้วคุณก็ไม่ต้องอนุมัติทำตามอะไรทั้งนั้น ถ้าหากไม่พอใจก็แย้งกลับมาด้วยเหตุผลของคุณ แต่ถ้าไร้เหตุผลผมก็เห็นแล้วว่าคุณเป็นคนยังไง ผมแย้งกลับในประเด็นเหตุผลตลอด แต่คุณเป็นคนเข้าใจอะไรยาก เอาความคิดตัวเองเป็นใหญ่ เคารพเสรีภาพคนอื่นบ้าง แม้คุณเป็นคนแบบนี้ผมยังเคารพสิทธิคุณเลย พูดก็พูดด้วยเหตุผลหมด ไม่ได้ทำอะไรละเมิดคุณแม้แต่น้อย การแย้งของผมคุณคงไม่พอใจมากสินะ?

"ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากตัวรถ กับตัวรถยนต์จริงๆ มันคนละส่วนกัน คุณเล่นเอามารวมกัน จะให้มองตัวรถเป็นค่าใช้จ่ายได้ยังไง --> ออกทะเลไปไกลจริงๆ อันนี้เจ้าของกระทู้ถามแนวทางตัดสินใจซื้อรถ  ก็ผมก็บอกแต่ต้นแล้วงัยว่าในการพิจารณาซื้อรถของผม ผมจะพิจารณาอย่างนี้  แนวความคิดของผมแบบนี้มันก็เรื่องของผม   ผมตอบเจ้าของกระทู้  ย้ำนะ "ผมตอบเจ้าของกระทู้"  ผมไม่ได้กางตำรามาดำเนินชีวิต เพื่อมาเสนอท่านอนุมัตินะครับ   สำคัญตัวผิดหรือป่าว"

คุณห้ามคนอื่นแย้งไม่ได้ จะแสดงความคิดเห็นก็แสดงไปไงครับ ผมบอกว่ามันผิดเพราะความคิดคุณมันไร้มาตรฐาน ชี้แจงไปแล้ว และผมก็แย้งตรงเฉพาะที่มันผิด ไม่ได้จะตอบคำถามใดเลย คุณจะตอบคำถามก็ตอบไปไม่เห็นจะมีอะไรเลย ถ้าอธิบายกับผมไม่ได้ว่ามาตรฐานมันอยู่ตรงไหน จะคิดอะไรก็คิดไปเหอะครับ มันคงไร้สาระแล้วละ

" ผมถึงได้บอกคุณไงครับว่าให้เอาไปประยุต์ใช้กับงบการเงิน ทำบัญชีของตัวเอง    --> นี่คือหลักฐานที่ชัดเจนว่า คุณออกนอกประเด็นไปไกลมากๆ เรื่องที่ผมถามท่าน ท่านก็ไม่ตอบ   ผมไม่ได้ถามท่านเรื่องนี้  ย้ำนะ ผมไม่ได้ถามท่านเรื่องนี้ มาแนะนำผมทำไมอ่ะ   ใครถาม???   ถ้าคุณอยากจะเสนออะไร ก็ไปเสนอให้กับคนที่อยากรู้สิครับ   มาแนะนำผมทำไมอ่ะ งงมากๆ     แล้วไม่ต้องพิมพ์ซ้ำอีกนะนะ เพราะผมไม่ได้อ่านหรอก  เรื่องนอกประเด็นผมไม่อยากเสียเวลาอ่าน"

ผมไม่เห็นว่ามันจะนอกประเด็นตรงไหน คุณต่างหากเข้าใจที่ผมพูดหรือเปล่า คุณบอกว่าสินทรัพย์ที่สร้างรายได้ บลาๆๆ ไปเรื่องลงทุน รถยนต์นั่งผู้บริหาร ถือเป็นทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้  เวลาคิดเค้ามองในแง่ว่าเป็นค่าใช้จ่ายทั้งนั้นแหละครับ
ผมก็ตอบไปว่าคุณมองแต่งบบริษัท รถยนต์จึงเป็นเพียงแค่สินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ เพราะพันธกิจคือกำไรสูงสุด แต่ถ้าประยุกต์มางบตัวท่านเอง รถยนต์จะกลายเป็นสินทรัพย์สร้างคุณภาพชีวิต คุณจะเอา%การซื้อรถยนต์/สินทรัพย์บริษัท หรือต่อสินทรัพย์ของตัวเองละ ดังนั้นการมองเป็นค่าใช้จ่ายของคุณจึงผิด นี่เมื่อไรจะเข้าใจ ผมอธิบายหลายรอบมาก การที่คุณไม่เข้าไม่ได้หมายความว่าผมออกทะเล สรุปผมออกทะเลไหม คุณคิดต่อเองไม่ได้หรือไงครับถึงต้องให้ผมพูดโยงจนยาวขนาดนั้น

คุณเป็นใคร? คนแปลกหน้าหรือเปล่า จะมาขอคำขอโทษ ไม่ใช่ญาติกันนะครับ ผมไม่ได้ละเมิดอะไรคุณนี่ ถ้าละเมิดค่อยว่ากันรึเปล่า โตๆ กันแล้ว ผมด่าคุณตรงไหนเหรอครับ ผมยังงง
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 09, 2020, 03:57:08 โดย pim_cute »

ออฟไลน์ D Water Law

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 292
ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากตัวรถ กับตัวรถยนต์จริงๆ มันคนละส่วนกัน คุณเล่นเอามารวมกัน จะให้มองตัวรถเป็นค่าใช้จ่ายได้ยังไง --> ออกทะเลไปไกลจริงๆ อันนี้เจ้าของกระทู้ถามแนวทางตัดสินใจซื้อรถ  ก็ผมก็บอกแต่ต้นแล้วงัยว่าในการพิจารณาซื้อรถของผม ผมจะพิจารณาอย่างนี้  แนวความคิดของผมแบบนี้มันก็เรื่องของผม   ผมตอบเจ้าของกระทู้  ย้ำนะ "ผมตอบเจ้าของกระทู้"  ผมไม่ได้กางตำรามาดำเนินชีวิต เพื่อมาเสนอท่านอนุมัตินะครับ   สำคัญตัวผิดหรือป่าว



ผมถึงได้บอกคุณไงครับว่าให้เอาไปประยุต์ใช้กับงบการเงิน ทำบัญชีของตัวเอง    --> นี่คือหลักฐานที่ชัดเจนว่า คุณออกนอกประเด็นไปไกลมากๆ เรื่องที่ผมถามท่าน ท่านก็ไม่ตอบ   ผมไม่ได้ถามท่านเรื่องนี้  ย้ำนะ ผมไม่ได้ถามท่านเรื่องนี้ มาแนะนำผมทำไมอ่ะ   ใครถาม???   ถ้าคุณอยากจะเสนออะไร ก็ไปเสนอให้กับคนที่อยากรู้สิครับ   มาแนะนำผมทำไมอ่ะ งงมากๆ     แล้วไม่ต้องพิมพ์ซ้ำอีกนะนะ เพราะผมไม่ได้อ่านหรอก  เรื่องนอกประเด็นผมไม่อยากเสียเวลาอ่าน


สรุปเหตุการณ์หลักๆ ของพฤติกรรมท่านนะ

1. คุณมาแย้งว่า ผมบอกว่ารถไม่เป็นสินทรัพย์ แล้วไล่ผมไปศึกษาความรู้ทางบัญชี   พร้อมกับโชว์ความรู้ทางบัญชีโน่นนี่ ถูกบ้าง ผิดบ้าง  แต่ทั้งหมดทั้งปวงที่ไม่เกี่ยวกับประเด็นที่เจ้าของกระทู้ถามเลย  (ผมหาคำตอบของท่านที่ตอบเจ้ากระทู้ไม่เจอจริงๆ นะ )

2. ผมใช้เวลานานมากๆๆ  กว่าจะอธิบายให้คุณเข้าใจได้ว่า  คุณแปลความผิด คุณเข้าใจประโยคผิดโดยสิ้นเชิง   แล้วคุณก็เข้าใจไปแล้วนะ ตามที่คุณพิมพ์มาเอง    ["รถยนต์นั่งไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์ หมายความถึงว่าในการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งเราไม่ควรคิดว่ามันเป็นหมวดสินทรัพย์   ไม่ได้บอกนะว่ามันไม่เป็นสินทรัพย์" ตรงนี้เข้าใจแล้วไงครับ ]     เฮ้อ..... เข้าใจซะทีนะ ประโยคเดียวนี่มันยากขนาดต้องอธิยายขนาดนี้เลยเหรอ   

ปล. ผมเล่นกับเด็ก 6 ขวบแถวบ้านนะ  เอาพัดมาเล่นเป็นกระทะ เอาไม้ตีแมลงวันมาเล่นเป็นตาหลิว  เล่นทำกับข้าวกัน    แล้วผมบอกเด็กๆ ว่า "พัดอันนี้ให้คิดว่ามันเป็นกระทะ  ไม้ตีแมลงวันให้คิดว่าเป็นตะหลิวกันนะ"   เด็ก 6 ขวบยังเข้าใจความหมายของประโยคนี้เลย   ไม่มีเด็กคนไหนคิดว่ามันเป็นกระทะ หรือเป็นตะหลิวจริงๆ สักคน  แล้วก็ไม่มีเด็กคนไหนอวดฉลาดขึ้นมาแย้งผมนะว่า พัดไม่ใช่กระทะ ไม้ตีแมลงวันไม่ใช่ตาหลิว  เพราะเค้าเข้าใจโครงสร้างประโยคกันหมดมั้ง


3. สรุปว่า ตั้งแต่แรกเริ่มเลย ผมไม่ได้เข้าใจผิดเรื่องบัญชีสินทรัพย์  เป็นคุณที่ ตีความหมายของภาษาไทยไปผิดเอง  ตกลงท่านเข้าใจสิ่งที่ถูกไปแล้วนะ 



จากที่สรุปมาอีกครั้ง ---> เอาตรงๆ นะ พฤติกรรมของท่านอ่ะนะ    เริ่มจากเข้าใจคำพูดคนอื่นผิดเอง ตีความประโยคผิดเอง  เข้าใจผิดถึงขนาดไล่คนอื่นไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม    ภายหลังจากที่ได้รับการอธิบายอย่างหนักหน่วง  สรุปว่าคุณทราบแล้วว่าคุณเข้าใจผิด

ถ้าเป็นคนปกติที่ผมเจอมานะ  ถ้าเกิดมีการเข้าใจผิดเองว่าคนอื่นไม่รู้  เข้าใจผิดเองแล้วยังไล่เค้าไปหาความรู้เพิ่มเติม  ภายหลังทราบว่าตัวเองเข้าใจผิด   คนที่มีมารยาททั่วไป-มีมารยาทน้อยก็เถอะ เค้าต้องขอโทษออกมาแล้วนะครับ

แต่กับท่านนี่นะ  ไม่มีคำขอโทษใดใด  แถมยังมีหน้ามาอธิบายแนวทาง 180-1009 ให้กับคนที่ไม่ได้ถาม  ไม่ได้ต้องการจะรับฟังอะไรจากท่านเลยแม้แต่น้อย   คำอธิบายใช้แทนคำขอโทษไม่ได้นะครับ

สกิลท่านสุดยอดจริงๆ ครับ  นับว่าหายากยิ่ง ผมต้องขอคารวะท่านนะ

คุณครับ เข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของผมมันไม่มีหรือยังไง ผมแย้ง ผมก็มีสิทธิแย้งไหม คุณจะอนุมัติรึเปล่ามันก็เรื่องของคุณ ผมไม่ได้ขอให้ทำ
ตลกไหมครับ การที่จะมาห้ามคนอื่นแสดงความเห็นในที่สาธารณะ หากไม่ต้องการถกเถียงในประเด็น แบบนี้ก็แปลว่าไม่มีเหตุผลแล้ว และผมก็พูดอยู่ในประเด็นหมด คุณไม่เข้าใจแล้วก็บอกออกทะเลเองมากกว่า

ผมจะบอกให้นะครับ ทุกคนมีสิทธิพูด คุณจะห้ามคนอื่นพูดยังไง ห้ามได้หรือ แล้วคุณก็ไม่ต้องอนุมัติทำตามอะไรทั้งนั้น ถ้าหากไม่พอใจก็แย้งกลับมาด้วยเหตุผลของคุณ แต่ถ้าไร้เหตุผลผมก็เห็นแล้วว่าคุณเป็นคนยังไง ผมแย้งกลับในประเด็นเหตุผลตลอด แต่คุณเป็นคนเข้าใจอะไรยาก เอาความคิดตัวเองเป็นใหญ่ เคารพเสรีภาพคนอื่นบ้าง แม้คุณเป็นคนแบบนี้ผมยังเคารพสิทธิคุณเลย พูดก็พูดด้วยเหตุผลหมด ไม่ได้ทำอะไรละเมิดคุณแม้แต่น้อย การแย้งของผมคุณคงไม่พอใจมากสินะ?

"ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากตัวรถ กับตัวรถยนต์จริงๆ มันคนละส่วนกัน คุณเล่นเอามารวมกัน จะให้มองตัวรถเป็นค่าใช้จ่ายได้ยังไง --> ออกทะเลไปไกลจริงๆ อันนี้เจ้าของกระทู้ถามแนวทางตัดสินใจซื้อรถ  ก็ผมก็บอกแต่ต้นแล้วงัยว่าในการพิจารณาซื้อรถของผม ผมจะพิจารณาอย่างนี้  แนวความคิดของผมแบบนี้มันก็เรื่องของผม   ผมตอบเจ้าของกระทู้  ย้ำนะ "ผมตอบเจ้าของกระทู้"  ผมไม่ได้กางตำรามาดำเนินชีวิต เพื่อมาเสนอท่านอนุมัตินะครับ   สำคัญตัวผิดหรือป่าว"

คุณห้ามคนอื่นแย้งไม่ได้ จะแสดงความคิดเห็นก็แสดงไปไงครับ ผมบอกว่ามันผิดเพราะความคิดคุณมันไร้มาตรฐาน ชี้แจงไปแล้ว และผมก็แย้งตรงเฉพาะที่มันผิด ไม่ได้จะตอบคำถามใดเลย คุณจะตอบคำถามก็ตอบไปไม่เห็นจะมีอะไรเลย ถ้าอธิบายกับผมไม่ได้ว่ามาตรฐานมันอยู่ตรงไหน จะคิดอะไรก็คิดไปเหอะครับ มันคงไร้สาระแล้วละ

" ผมถึงได้บอกคุณไงครับว่าให้เอาไปประยุต์ใช้กับงบการเงิน ทำบัญชีของตัวเอง    --> นี่คือหลักฐานที่ชัดเจนว่า คุณออกนอกประเด็นไปไกลมากๆ เรื่องที่ผมถามท่าน ท่านก็ไม่ตอบ   ผมไม่ได้ถามท่านเรื่องนี้  ย้ำนะ ผมไม่ได้ถามท่านเรื่องนี้ มาแนะนำผมทำไมอ่ะ   ใครถาม???   ถ้าคุณอยากจะเสนออะไร ก็ไปเสนอให้กับคนที่อยากรู้สิครับ   มาแนะนำผมทำไมอ่ะ งงมากๆ     แล้วไม่ต้องพิมพ์ซ้ำอีกนะนะ เพราะผมไม่ได้อ่านหรอก  เรื่องนอกประเด็นผมไม่อยากเสียเวลาอ่าน"

ผมไม่เห็นว่ามันจะนอกประเด็นตรงไหน คุณต่างหากเข้าใจที่ผมพูดหรือเปล่า คุณบอกว่าสินทรัพย์ที่สร้างรายได้ บลาๆๆ ไปเรื่องลงทุน รถยนต์นั่งผู้บริหาร ถือเป็นทรัพย์สินที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้  เวลาคิดเค้ามองในแง่ว่าเป็นค่าใช้จ่ายทั้งนั้นแหละครับ
ผมก็ตอบไปว่าคุณมองแต่งบบริษัท รถยนต์จึงเป็นเพียงแค่สินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ เพราะพันธกิจคือกำไรสูงสุด แต่ถ้าประยุกต์มางบตัวท่านเอง รถยนต์จะกลายเป็นสินทรัพย์สร้างคุณภาพชีวิต คุณจะเอา%การซื้อรถยนต์/สินทรัพย์บริษัท หรือต่อสินทรัพย์ของตัวเองละ ดังนั้นการมองเป็นค่าใช้จ่ายของคุณจึงผิด นี่เมื่อไรจะเข้าใจ ผมอธิบายหลายรอบมาก การที่คุณไม่เข้าไม่ได้หมายความว่าผมออกทะเล สรุปผมออกทะเลไหม คุณคิดต่อเองไม่ได้หรือไงครับถึงต้องให้ผมพูดโยงจนยาวขนาดนั้น

คุณเป็นใคร? คนแปลกหน้าหรือเปล่า จะมาขอคำขอโทษ ไม่ใช่ญาติกันนะครับ ผมไม่ได้ละเมิดอะไรคุณนี่ ถ้าละเมิดค่อยว่ากันรึเปล่า โตๆ กันแล้ว ผมด่าคุณตรงไหนเหรอครับ ผมยังงง

ตลกอีกแล้วนะท่าน     :P :P :P    อ่านความเห็นของท่านบางช่วงก็ทำให้ผมขำได้

ท่านมีปัญหากับการตีความทางภาษาจริงๆ แหละ

ผมบอกว่าท่านด่าผมตอนไหนครับ  สุดท้ายแล้วผมเรียกร้องคำขอโทษจากท่านเมื่อไรครับ     
 

ขอชัดๆ หน่อยครับ  ผมขอคำขอโทษจากคุณตรงไหนครับ


ขนาดภาษาไทยอย่างง่าย ท่านยังแปลความออกมาไม่ได้เลย  ผมคงไม่เสียเวลาอธิบายท่านว่ามันนอกประเด็นตรงไหนแล้วครับ    แค่คำสั้นๆ ระหว่างความหมายของ   ไม่ควรคิดว่าเป็น  กับ ไม่เป็น  กว่าที่ผมจะใช้เวลาอธิบายจนท่านเริ่มเข้าใจความแตกต่างของ 2 คำนี้ จนท่านยอมรับว่าท่านเข้าใจแล้ว ยังต้องใช้เวลาอธิบายตั้งหลายกระทู้     
แล้วที่พิมพ์มารอบล่าสุดก็ดูเหมือนจะกลับกลายเป็นท่านไม่เข้าใจอีกแล้วนะท่าน ทำไมย้อนกลับไปเรื่องเดิมเลยอ่า     :P :P :P   

ถ้าเป็นแบบนี้ ถ้าต้องให้อธิบายว่าท่านนอกประเด็นยังงัยอีก คงใช้เวลาเป็นสัปดาห์กว่าท่านจะเข้าใจได้   พอเข้าใจแล้วพอผ่านไป 1 รอบ ท่านก็จะย้อนกลับเป็นไม่เข้าใจใหม่อีก   ผมไม่เอาแล้วครับ 

แต่สกิลท่าน สุดยอดจริงๆ นะ ทำความไม่เข้าใจ เป็นความเข้าใจ แล้วกลับเป็นไม่เข้าใจได้     ผมขอชื่นชมอีกครั้ง


ปล.  กับคนแปลกหน้าหรือใครก็ตาม  ถ้าผมรู้ตัวว่าเข้าใจอะไรเค้าผิดไป   ถึงจะเป็นคนแปลกหน้าผมก็ขอโทษครับ  ไม่ต้องรอให้เค้าเป็นญาติหรอกครับ   แนวความคิดตลกดีจัง ต้องเป็นญาติถึงจะขอโทษเหรอเนี่ย  ;D ;D ;D   


อ้ออ แล้วถ้าละเมิดจริง เค้าไม่เอาคำขอโทษกันหรอกนะ เค้าเรียกค่าเสียหายตามม. 420 แล้ว คิดจะแก้การละเมิดด้วยคำขอโทษ ตลกอีกล่ะ  555+
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 09, 2020, 09:07:35 โดย kittik25 »

ออฟไลน์ pim_cute

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 308

ตลกอีกแล้วนะท่าน     :P :P :P    อ่านความเห็นของท่านบางช่วงก็ทำให้ผมขำได้

ท่านมีปัญหากับการตีความทางภาษาจริงๆ แหละ

ผมบอกว่าท่านด่าผมตอนไหนครับ  สุดท้ายแล้วผมเรียกร้องคำขอโทษจากท่านเมื่อไรครับ     
 

ขอชัดๆ หน่อยครับ  ผมขอคำขอโทษจากคุณตรงไหนครับ


ขนาดภาษาไทยอย่างง่าย ท่านยังแปลความออกมาไม่ได้เลย  ผมคงไม่เสียเวลาอธิบายท่านว่ามันนอกประเด็นตรงไหนแล้วครับ    แค่คำสั้นๆ ระหว่างความหมายของ   ไม่ควรคิดว่าเป็น  กับ ไม่เป็น  กว่าที่ผมจะใช้เวลาอธิบายจนท่านเริ่มเข้าใจความแตกต่างของ 2 คำนี้ จนท่านยอมรับว่าท่านเข้าใจแล้ว ยังต้องใช้เวลาอธิบายตั้งหลายกระทู้     
แล้วที่พิมพ์มารอบล่าสุดก็ดูเหมือนจะกลับกลายเป็นท่านไม่เข้าใจอีกแล้วนะท่าน ทำไมย้อนกลับไปเรื่องเดิมเลยอ่า     :P :P :P   

ถ้าเป็นแบบนี้ ถ้าต้องให้อธิบายว่าท่านนอกประเด็นยังงัยอีก คงใช้เวลาเป็นสัปดาห์กว่าท่านจะเข้าใจได้   พอเข้าใจแล้วพอผ่านไป 1 รอบ ท่านก็จะย้อนกลับเป็นไม่เข้าใจใหม่อีก   ผมไม่เอาแล้วครับ 

แต่สกิลท่าน สุดยอดจริงๆ นะ ทำความไม่เข้าใจ เป็นความเข้าใจ แล้วกลับเป็นไม่เข้าใจได้     ผมขอชื่นชมอีกครั้ง


ปล.  กับคนแปลกหน้าหรือใครก็ตาม  ถ้าผมรู้ตัวว่าเข้าใจอะไรเค้าผิดไป   ถึงจะเป็นคนแปลกหน้าผมก็ขอโทษครับ  ไม่ต้องรอให้เค้าเป็นญาติหรอกครับ   แนวความคิดตลกดีจัง ต้องเป็นญาติถึงจะขอโทษเหรอเนี่ย  ;D ;D ;D   


อ้ออ แล้วถ้าละเมิดจริง เค้าไม่เอาคำขอโทษกันหรอกนะ เค้าเรียกค่าเสียหายตามม. 420 แล้ว คิดจะแก้การละเมิดด้วยคำขอโทษ ตลกอีกล่ะ  555+

"ถ้าเป็นคนปกติที่ผมเจอมานะ  ถ้าเกิดมีการเข้าใจผิดเองว่าคนอื่นไม่รู้  เข้าใจผิดเองแล้วยังไล่เค้าไปหาความรู้เพิ่มเติม  ภายหลังทราบว่าตัวเองเข้าใจผิด   คนที่มีมารยาททั่วไป-มีมารยาทน้อยก็เถอะ เค้าต้องขอโทษออกมาแล้วนะครับ แต่กับท่านนี่นะ  ไม่มีคำขอโทษใดใด" ---> ถ้าไม่เรียกร้องคำขอโทษจะพูดทำไมครับ? คุณต่างหากที่ออกทะเล ไม่เห็นเหรอ? ผมไม่ได้ตีความผิด คุณต่างหากที่ไม่เข้าใจและออกทะเลอยู่เรื่อยๆ จะบอกว่าพูดเฉยๆ งั้นแล้วมันเกี่ยวกับประเด็นที่ถกเถียงกันตรงไหนครับ?

ผมน่ะตอบคำถามคุณทุกข้อไล่ตอบไปเรื่อยด้วยซ้ำ แต่คุณพอไม่พอใจก็เอาตัวเองเป็นใหญ่ สิ่งที่ผมแย้งคุณก็ตอบผมไม่ได้เลย ลองไล่สิ่งที่ผมถามมาตอบให้ได้ก่อนไหม ส่วนคำถามคุณผมตอบไปหมดแล้ว ถ้าลองพยายามอ่านให้เข้าใจ มันตอบหมดแล้ว คุณก็เอาแต่พาลไปเรื่องอื่น เริ่มออกนอกเรื่องของจริงแล้ว คุยเรื่องที่เป็นประเด็นไม่ดีกว่าเหรอ อย่าไร้สาระมากไปกว่านี้ครับ ผมต้องต่อจุดละเอียดแบบเด็ก ป4 คุณถึงจะเข้าใจหรืออย่างไร ฟังให้เข้าใจดูก่อนไหม ก่อนจะบอกออกทะเล คุณต่างหากที่ไม่เข้าใจอะไรเลย

ถ้าเข้าใจเรื่องละเมิดดีอยู่แล้ว งั้นก็ไม่ต้องมาพร่ำเรื่องขอโทษอีก นอกเรื่องไร้สาระครับ

เอาคำถามเดียวก่อนง่ายๆ แบบ ป4 เลย
"คุณอย่าลืมนะตัวรถยนต์ที่คุณขับ กับเงินที่จ่ายไปเพื่อซื้อ หรือซ่อม หรืออื่นๆ มันเป็นคนละอย่างกันนะ ถ้างั้นบ้าน และอื่นๆ อีกมากหากด้อยค่า จะเป็นค่าใช้จ่ายหมดเลยไหม" มาตรฐานอยู่ตรงไหน?
คุณตอบว่า ---> อยู่ตรงที่ว่ามันก่อให้เกิดรายได้หรือหรือเพื่อใช้ในการรันธุรกิจหลักของบริษัทฯ หรือเปล่างัยครับ
คุณเห็นคำถามผมไหมว่าประเด็นมันอยู่ที่ "งั้นบ้าน และอื่นๆ อีกมากหากด้อยค่า จะเป็นค่าใช้จ่ายหมดเลย"
คุณเอาเรื่องสินทรัพย์ที่ไม่สร้างรายได้ มาตอบเป็นมาตรฐาน มันก็ไม่ได้อธิบายเรื่องบ้านและสินทรัพย์อื่นที่ด้อยค่าอยู่ดี บ้าน ทีวี ตู้เย็น ของใช้ต่างๆ พวกนี้เหมือนรถเย็นทั้งสิ้น ถ้าเอาเงินบริษัทซื้อ มันก็เป็นค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น ไม่ใช่รถยนต์เพียงอย่างเดียว คราวนี้ของทุกๆ อย่างจะกลายเป็นค่าใช้จ่ายหมดถ้าหากไม่สร้างรายได้ คุณคิดว่ายังไงละ? คุณอย่าลืมนะบางคนเขาเป็นเจ้าของเขาก็เอาเงินบริษัทมาซื้อรถซื้อบ้าน เห็นไหมว่ามันมั่ว?

ในคำถามยังมีอีกประเด็นซ้อน "ตัวรถยนต์ที่คุณขับ กับเงินที่จ่ายไปเพื่อซื้อ หรือซ่อม หรืออื่นๆ มันเป็นคนละอย่างกัน"
รถ---> มีตัวตน มีมูลค่าในตัวมันเอง
ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากตัวรถ--->ซ่อม บำรุงรักษา ค่าเสื่อม
นี่แยกคำถามให้ละเอียดมากแล้วนะ เอาความหมายตามพจนานุกรมทั่วๆ ไปเลย ถ้าคุณมองรถเป็นค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายแปลว่าอะไร? ค่าใช้จ่ายขับไปไหนมาไหนได้? ค่าใช้จ่ายขายเป็นมือ2ได้? ค่าใช้จ่ายมีมูลค่าในตัวเอง? คุณเข้าใจไหมว่าตัวค่าใช้จ่ายที่คุณคิดนั่น มันไม่ตรงกับความหมายทั่วไปตามพจนานุกรมด้วยซ้ำ แล้วผมก็แยกออกมาให้เห็นแล้วว่ามันไม่ใช่ตัวรถ แต่เป็นอย่างอื่นที่เกิดจากรถ
ถ้ายังจะบอกอีกว่าคุณจะมองแบบของคุณเพื่อตอบคำถาม คุณเป็นถึงขนาดแย้งความหมายตามพจนานุกรมอีกเหรอ เป็นคนอยู่เหนือพจนานุกรม? แบบนี้อะไรก็เกิดขึ้นได้หมด ข้าจะมองแบบนี้ ข้าถูก ภาษามนุษย์คงไม่มีความหมายแล้วงั้น อย่างน้อยความหมายตามพื้นฐานควรยึดไว้ไหม? จะมองยังไงก็ได้ เอางั้นจริงดิ?

ยังมีอีกหลายข้อที่คุณตอบผมไม่ได้ ผมก็อยากจะรู้ว่าใครกันแน่ที่ออกทะเล? ไปทีละเรื่องนี่แหละ คุณเป็นคนที่เข้าใจอะไรยากจริงๆ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤษภาคม 09, 2020, 13:25:00 โดย pim_cute »