ผู้เขียน หัวข้อ: จริงหรือไม่ครับ ที่รถยนต์พลังงานHydrogenคือพลังงานปลายทางที่โลกจะเลือกใช้  (อ่าน 4057 ครั้ง)

ออฟไลน์ AR15

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 187
    • อีเมล์
จากที่อ่านข้อมูลมาจากหลายแหล่ง ถึงตอนนี้พลังงานHydrogenจะมีมูลค่าค่อนข้างแพง คนทั่วไปอาจจะยังจับต้องไม่ได้ แต่ในอนาคตมันคือพลังงานปลายทางที่เราจะเลือกใช้แทนรถยนต์พลังงานไฟฟ้าใช่ไหมครับ

ออฟไลน์ pjs6306

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2,101
    • อีเมล์
ประเทศที่ไม่มีน้ำมันหรือเป็นสิ่งที่หายากมากผมว่าเค้าคงพัฒนาไปทางนั้นครับ

ออฟไลน์ ไทบ้าน

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,668
แบบนี้น้ำจะแพงขึ้นอย่างแน่นอน
1990 Yamaha Mate-100
1992 Yamaha Bell-100
2000 Yamaha Tiara-R
2017 Yamaha MT-03

Gunther

  • บุคคลทั่วไป
น่าจะจริงครับ เพราะ รถยนต์พลังงาน Hydrogen กับ รถยนต์ไฟฟ้าคือทางเลือกใหม่ที่จะได้รับความนิยมภายใน 20 ปีข้างหน้าทั่วโลก

อีกไม่เกิน 20 ปี รถยนต์เบนซินและรถยนต์ดีเซลอาจจะแทนที่ด้วย รถยนต์ไฟฟ้ากับรถยนต์ไฮโดรเจน

ออฟไลน์ I_AM_M

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 329
    • อีเมล์
เอาไฮโดรเจน ไปผลิตไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าแทนน่าจะดีผมว่า ไม่ต้องมีการขนส่งลำบาก

ออฟไลน์ sukhontha

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,463
ปัญหาคือการจัดเก็บยากมาก  รั่วซึมง่ายมาก

ออฟไลน์ LapisLazuli

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 285
    • อีเมล์
ปัญหาใหญ่ๆของ Hydrogen คือ

1.) การผลิต (ส่วนใหญ่จะใช้ Steam-reforming ไม่ก็ Water-gas shift ที่สร้างมลพิษสูง // ใช้ Methane => มี CO และ CO2 เป็น byproducts)
2.) การเก็บ (ที่ต้องเก็บแบบ sub-cool ในรุปของเหลว ซึ่งใช้พลังงานเยอะมากๆกว่าจะทำให้เย็นถึง -253 Celsius ได้ / ไม่ก็เก็บแบบ Compressed ใช้เเรงดันสูงมากๆ - ถังใน Toyota Mirai เก็บที่ 700 bar ในขณะที่ NGV เก็บที่ 200-250 bar)
3.) การขนส่ง (เหมือนข้อ 2)
4.) เครื่องยนต์ซับซ้อนมาก ต้องมี Air Compressor, Intercooler, Humidifier, Ion Exchanger, ฯลฯ เพิ่มเติมจาก EV ทั่วๆไป ซึ่งหลักๆมี Motor, Inverter, Battery (Power Loss สูง ประสิทธิภาพต่ำ , เเต่ดีกว่า ICE)
5.) ติดไฟไง, เก็บที่ความดันสูงมาก, ก็คือระเบิดดีๆนี่เอง
6.) Hydrogen มีดีเเค่เรื่องเดียวครับ คือ Energy Density (พลังงาน/น้ำหนัก), สูงกว่านี้ก็ Nuclear แล้ว

“เพิ่มเติมข้อ 2.) การทำ Hydrogen ให้เป็นของเหลวนั้น ใช้พลังงาน ~35% ของพลังงานที่มีอยู่ในตัว Hydrogen, ตรงนี้เป็นจุดที่ต่อให้เทคโนโลยีไปไกลเเค่ไหน ก็ทำให้ดีขึ้นไม่ได้ เพราะเป็นกฎอนุรักษ์พลังงาน”

ผมเคยศึกษากับอาจารย์ ที่มหาวิทยาลัย (มีข้อมูลเชิงตัวเลขครับ ผมยังเก็บไว้อยุ่ 55)
ทั้งผมทั้งอาจารย์ สรุปเป็นเสียงเดียวกันว่า ใช้ EV ธรรมดา เเล้วไปพัฒนา Battery กับพัฒนาโรงไฟฟ้าดีกว่า, ยิ่งเทคโนโลยี Molten Salt ใหม่มา อนาคตที่จะไปทางโรงไฟฟ้า Nuclear เห็นชัดมากขึ้น
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: เมษายน 28, 2021, 20:05:34 โดย LapisLazuli »

ออฟไลน์ Mr.Joe

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 441
ติดตามเทคโนโลยีนี้มา 10 กว่าปี ตั้งแต่สมัยซีรี่ส์ 7 ปี 1996
ผมเชื่อว่ามีนจะเป็นพลังงานหลักของโลกในซัก 20 ปีจากนี้
ปัญหาต่างๆค่อยๆแก้ได้ทีละเปลาะครับ

ออฟไลน์ koko86

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,593
    • อีเมล์
ปัญหาใหญ่ๆของ Hydrogen คือ

1.) การผลิต (ส่วนใหญ่จะใช้ Steam-reforming ไม่ก็ Water-gas shift ที่สร้างมลพิษสูง // ใช้ Methane => มี CO และ CO2 เป็น byproducts)
2.) การเก็บ (ที่ต้องเก็บแบบ sub-cool ในรุปของเหลว ซึ่งใช้พลังงานเยอะมากๆกว่าจะทำให้เย็นถึง -253 Celsius ได้ / ไม่ก็เก็บแบบ Compressed ใช้เเรงดันสูงมากๆ - ถังใน Toyota Mirai เก็บที่ 700 bar ในขณะที่ NGV เก็บที่ 200-250 bar)
3.) การขนส่ง (เหมือนข้อ 2)
4.) เครื่องยนต์ซับซ้อนมาก ต้องมี Air Compressor, Intercooler, Humidifier, Ion Exchanger, ฯลฯ เพิ่มเติมจาก EV ทั่วๆไป ซึ่งหลักๆมี Motor, Inverter, Battery (Power Loss สูง ประสิทธิภาพต่ำ , เเต่ดีกว่า ICE)
5.) ติดไฟไง, เก็บที่ความดันสูงมาก, ก็คือระเบิดดีๆนี่เอง
6.) Hydrogen มีดีเเค่เรื่องเดียวครับ คือ Energy Density (พลังงาน/น้ำหนัก), สูงกว่านี้ก็ Nuclear แล้ว

“เพิ่มเติมข้อ 2.) การทำ Hydrogen ให้เป็นของเหลวนั้น ใช้พลังงาน ~35% ของพลังงานที่มีอยู่ในตัว Hydrogen, ตรงนี้เป็นจุดที่ต่อให้เทคโนโลยีไปไกลเเค่ไหน ก็ทำให้ดีขึ้นไม่ได้ เพราะเป็นกฎอนุรักษ์พลังงาน”

ผมเคยศึกษากับอาจารย์ ที่มหาวิทยาลัย (มีข้อมูลเชิงตัวเลขครับ ผมยังเก็บไว้อยุ่ 55)
ทั้งผมทั้งอาจารย์ สรุปเป็นเสียงเดียวกันว่า ใช้ EV ธรรมดา เเล้วไปพัฒนา Battery กับพัฒนาโรงไฟฟ้าดีกว่า, ยิ่งเทคโนโลยี Molten Salt ใหม่มา อนาคตที่จะไปทางโรงไฟฟ้า Nuclear เห็นชัดมากขึ้น

ข้อมูลแน่นมากครับ
มันแก้pain point ของรถไฟฟ้าได้อย่างเดียวคือเติมได้รวดเร็วกว่า แต่จากความเห็นนึ้ ผมว่าอันตรายและซับซ้อนมากครับ
รถไฟฟ้า ที่ได้ไฟฟ้าจากพลังงานลม พลังงานแดด น่าจะสะอาดกว่าเยอะ

ออฟไลน์ Newhang

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5,338
ได้ยินมานานก่อน รถไฟฟ้า ได้ยินแล้วไม่เกิดสักที ไม่มีที่ท่าค่ายไหนพูดถึงในช่วงหลัง น่าจะติดขัดอะไรสักอย่างรึเปล่าครับ

ออฟไลน์ punn

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,588
  • may the force lead your way ...
ถ้าวางแผนไฮโดรเจนสีเขียวได้จริงก็เป็นไปได้ครับ

แต่ประเทศแถวเส้นศูนย์สูตรน่าจะเป็น Solar cell กับแบตดีๆเป็นไปได้กว่าครับ

ผมคุยกับทีมโซล่าเซลล์ที่เค้าเคยทำที่ประเทศบนๆเลยได้ความรู้มาหน่อย
ว่าถ้าจะติดตั้งโซล่าเซลล์ขนาดความจุนึง ต้องเผื่อไม่น้อยกว่า 3 เท่าเลยครับเมื่อจะทำที่ต่างประเทศ
เนื่องจากสภาพอากาศและแดดที่ไม่ดีเท่าบ้านเรา

เช่นต้องการ 15 kW แต่ทั้งระบบต้องดีไซน์ไว้ที่ 45 kW ทำให้ต้นทุนของเค้าจะแพงกว่าบ้านเรามาก
ทั้งต้นทุนวัตถุดิบเพิ่มและต้นทุนค่าแรงก็ยิ่งเพิ่มตามครับ ::)
เป็นคนโลกปกติธรรมดา :)
ไม่โลกสวย และไม่โลกมืด อยู่กับความเป็นจริงและพลังงานบวก ..

ปราชญ์สอนสิ่งไหน คนก็จะจำสิ่งนั้น
ประสบการณ์เจอแบบไหน คนก็จะคิดทางนั้น
ต่างคนต่างประสบการณ์เรียนรู้สิ่งเดียวกัน ก็จะออกมาแตกต่างกันไปครับ

ออฟไลน์ deertesla

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,245
ปัญหาใหญ่ๆของ Hydrogen คือ

1.) การผลิต (ส่วนใหญ่จะใช้ Steam-reforming ไม่ก็ Water-gas shift ที่สร้างมลพิษสูง // ใช้ Methane => มี CO และ CO2 เป็น byproducts)
2.) การเก็บ (ที่ต้องเก็บแบบ sub-cool ในรุปของเหลว ซึ่งใช้พลังงานเยอะมากๆกว่าจะทำให้เย็นถึง -253 Celsius ได้ / ไม่ก็เก็บแบบ Compressed ใช้เเรงดันสูงมากๆ - ถังใน Toyota Mirai เก็บที่ 700 bar ในขณะที่ NGV เก็บที่ 200-250 bar)
3.) การขนส่ง (เหมือนข้อ 2)
4.) เครื่องยนต์ซับซ้อนมาก ต้องมี Air Compressor, Intercooler, Humidifier, Ion Exchanger, ฯลฯ เพิ่มเติมจาก EV ทั่วๆไป ซึ่งหลักๆมี Motor, Inverter, Battery (Power Loss สูง ประสิทธิภาพต่ำ , เเต่ดีกว่า ICE)
5.) ติดไฟไง, เก็บที่ความดันสูงมาก, ก็คือระเบิดดีๆนี่เอง
6.) Hydrogen มีดีเเค่เรื่องเดียวครับ คือ Energy Density (พลังงาน/น้ำหนัก), สูงกว่านี้ก็ Nuclear แล้ว

“เพิ่มเติมข้อ 2.) การทำ Hydrogen ให้เป็นของเหลวนั้น ใช้พลังงาน ~35% ของพลังงานที่มีอยู่ในตัว Hydrogen, ตรงนี้เป็นจุดที่ต่อให้เทคโนโลยีไปไกลเเค่ไหน ก็ทำให้ดีขึ้นไม่ได้ เพราะเป็นกฎอนุรักษ์พลังงาน”

ผมเคยศึกษากับอาจารย์ ที่มหาวิทยาลัย (มีข้อมูลเชิงตัวเลขครับ ผมยังเก็บไว้อยุ่ 55)
ทั้งผมทั้งอาจารย์ สรุปเป็นเสียงเดียวกันว่า ใช้ EV ธรรมดา เเล้วไปพัฒนา Battery กับพัฒนาโรงไฟฟ้าดีกว่า, ยิ่งเทคโนโลยี Molten Salt ใหม่มา อนาคตที่จะไปทางโรงไฟฟ้า Nuclear เห็นชัดมากขึ้น
ผมไม่เห็นด้วกับนิวโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ครับ รั่วมาอันตราย พื้นที่ตรงนั้นใช้การไม่ได้ไปแสนปี อีกทั้งประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างญี่ปุ่น เยอรมันพากันทะยอยเลิกใช้นิวเคลียร์ไปแล้ว

ออฟไลน์ LapisLazuli

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 285
    • อีเมล์
ปัญหาใหญ่ๆของ Hydrogen คือ

1.) การผลิต (ส่วนใหญ่จะใช้ Steam-reforming ไม่ก็ Water-gas shift ที่สร้างมลพิษสูง // ใช้ Methane => มี CO และ CO2 เป็น byproducts)
2.) การเก็บ (ที่ต้องเก็บแบบ sub-cool ในรุปของเหลว ซึ่งใช้พลังงานเยอะมากๆกว่าจะทำให้เย็นถึง -253 Celsius ได้ / ไม่ก็เก็บแบบ Compressed ใช้เเรงดันสูงมากๆ - ถังใน Toyota Mirai เก็บที่ 700 bar ในขณะที่ NGV เก็บที่ 200-250 bar)
3.) การขนส่ง (เหมือนข้อ 2)
4.) เครื่องยนต์ซับซ้อนมาก ต้องมี Air Compressor, Intercooler, Humidifier, Ion Exchanger, ฯลฯ เพิ่มเติมจาก EV ทั่วๆไป ซึ่งหลักๆมี Motor, Inverter, Battery (Power Loss สูง ประสิทธิภาพต่ำ , เเต่ดีกว่า ICE)
5.) ติดไฟไง, เก็บที่ความดันสูงมาก, ก็คือระเบิดดีๆนี่เอง
6.) Hydrogen มีดีเเค่เรื่องเดียวครับ คือ Energy Density (พลังงาน/น้ำหนัก), สูงกว่านี้ก็ Nuclear แล้ว

“เพิ่มเติมข้อ 2.) การทำ Hydrogen ให้เป็นของเหลวนั้น ใช้พลังงาน ~35% ของพลังงานที่มีอยู่ในตัว Hydrogen, ตรงนี้เป็นจุดที่ต่อให้เทคโนโลยีไปไกลเเค่ไหน ก็ทำให้ดีขึ้นไม่ได้ เพราะเป็นกฎอนุรักษ์พลังงาน”

ผมเคยศึกษากับอาจารย์ ที่มหาวิทยาลัย (มีข้อมูลเชิงตัวเลขครับ ผมยังเก็บไว้อยุ่ 55)
ทั้งผมทั้งอาจารย์ สรุปเป็นเสียงเดียวกันว่า ใช้ EV ธรรมดา เเล้วไปพัฒนา Battery กับพัฒนาโรงไฟฟ้าดีกว่า, ยิ่งเทคโนโลยี Molten Salt ใหม่มา อนาคตที่จะไปทางโรงไฟฟ้า Nuclear เห็นชัดมากขึ้น
ผมไม่เห็นด้วกับนิวโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ครับ รั่วมาอันตราย พื้นที่ตรงนั้นใช้การไม่ได้ไปแสนปี อีกทั้งประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างญี่ปุ่น เยอรมันพากันทะยอยเลิกใช้นิวเคลียร์ไปแล้ว

ใช่ ผมก็ไม่ได้เห็นด้วย เเต่ตอนนี้ก็ยังไม่เห็นอนาคตด้านพลังงาน นอกจาก Molten Salt Nuclear, พวกพลังงาน Renewable ก็ไม่พอมนุษย์ใช้ ไม่เสถียร รักษา Frequency ในระบบสายส่งไม่ได้ เก็บก็ไม่ได้ ไม่มี Battery ที่ดีพอ. เเต่ถ้าเทคโนโลยี Battery พัฒนาได้โหดกว่านี้, Renewable มีความหวังมากๆ (ซึ่งเป็นไปได้ยาก เพราะ Li-ion ก็พัฒนามาจะ เลเวล max อยุ่เเล้ว มี Energy Density (พลังงาน/น้ำหนัก) สูงสุดเเล้ว ถึงจะต่ำมากๆถ้าเทียบกับ fossil fuel ก็เถอะ, คงต้องเปลี่ยนรูปแบบการเก็บพลังงานไปเลย ไม่ใช่เก็บพลังงานกันประจุ ion อีกต่อไป)

เเต่ point ผมคือ: เอาไปพัฒนาที่โรงไฟฟ้า เเทนที่จะพัฒนาที่ตัวรถยนต์
โรงไฟฟ้าพลังงาน Hydrogen อาจจะฟังดูดีกว่า รถยนต์ Hydrogen
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: เมษายน 29, 2021, 00:27:17 โดย LapisLazuli »

ออฟไลน์ Gordon Freeman

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,206
ผมว่ายุคนี้เทคโนโลยีมอเตอร์ที่ใช้ขับเคลื่อนมันไปไกลมากแล้ว เหลือแค่เทคโนโลยีกักเก็บพลังงานไฟฟ้าที่จะใช้จ่ายให้กับมันเท่านั้นเอง

ยุคนี้ยังมีแค่แบต กับ ไฮโดรเจนที่ก็ต้องผ่านแบตลูกเล็กๆ อยู่ดีเหมือน E-Power

ไม่แน่ว่าอาจมีวิธีอื่นในอนาคตก็เป็นได้
2011 Kawasaki Ninja 650 (Sold)
2012 Ford Fiesta 1.6 Sport Ultimate (Sold)
2013 Suzuki Swift Eco GLX 1.25 (Sold)
2015 Honda Civic 1.8 (Sold)
2017 Toyota Fortuner 2.4 (Sold)
2019 Honda Jazz S MT (Sold)
2020 Nissan Almera VL 1.0T
2022 Isuzu D-Max Cab 4 1.9 AT
2023 Neta V

ออฟไลน์ Teera

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,379
    • อีเมล์
มองในแง่ความซับซ้อน ของระบบ เชื้อเพลิงแล้ว
เดาว่า EV กินขาดครับ

ออฟไลน์ DiKiBoyZ

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 7,190
    • อีเมล์
Hydrogen มองง่ายๆ ที่ทุกคนเคยเห็น เคยได้ยินมา ก็ กระสวยอวกาศ NASA เลยครับ มันคือ ระเบิด ดีๆ นี่เอง ถ้ารักษา จัดเก็บ ไม่ดี อันตรายมาก ยังไม่รวมเมื่อเกิดอบัติเหตุกับรถยนต์ แล้วถังรั่ว อีกนะ

ผมว่า ถ้าวัดกันหมัดต่อหมัด ปอนด์ต่อปอนด์แล้ว สู้ EV ไม่ได้เลย

ออฟไลน์ lay

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,265
มีโครงการ1ทำอยู่ที่เกาะแห่ง1ในไทยนี่แหละ  เขาทำโซล่าฟารม ให้ชาวบ้านใช้ ถ้ามีไฟเหลือใช้  ก็จะเอามาผลิต  Hydrogen  แล้วเอาHydrogenมาผลิตไฟฟ้าใช้ในยามกลางคืน

ออฟไลน์ youngbear

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,332
 8) 8) 8).......ถัดจาก EV booming ไปหรือจนกว่า อุปกรณ์ fuelcell energy อาจราคาถูกลงระหว่าง 5-20 ปีภายหน้าจากนี้ไปครับ ก็หวังและอยากเห็นในไทยเหมือนกัน ตอนนี้ปล่อย ยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งเขามีความพร้อมอยู่เกิน 10 % นำร่องไปพลางๆก่อนครับ :-X

ออฟไลน์ เต๋า AV

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,390
งานวิจัยพลังงานยังอยู่ในห้องทดลอง ยังต้องสังเกตุ เก็บข้อมูลวิจัยกันไปอีกอย่างต่ำ 5 ปี
แบตที่มีให้เห็นก็ล้าสมัยไปแล้ว ขาย fast charge หลอกคนไม่รู้เรื่องไปวันๆ
ตอนนี้ได้แต่ปั่นกระแสรถยนต์ไฟฟ้าไปวันวัน

รถยนต์พลังงาน Hydrogen ของไทยมีงานวิจัยอยู่หลายมหาวิทยาลัย ทำรถตัวอย่างก็มี
มีทั้งเติม Hydrogen และ เติมน้ำเปล่า

ออฟไลน์ SM.

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 27,363
ผมก็ว่าเป็นทางเลือกที่ดีนะครับ แต่ยังมีอะไรที่ต้องทำอีกมาก กว่าจะออกมาใช้ได้จริงๆ

ออฟไลน์ polwath

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 886
ปัญหาใหญ่ๆของ Hydrogen คือ

1.) การผลิต (ส่วนใหญ่จะใช้ Steam-reforming ไม่ก็ Water-gas shift ที่สร้างมลพิษสูง // ใช้ Methane => มี CO และ CO2 เป็น byproducts)
2.) การเก็บ (ที่ต้องเก็บแบบ sub-cool ในรุปของเหลว ซึ่งใช้พลังงานเยอะมากๆกว่าจะทำให้เย็นถึง -253 Celsius ได้ / ไม่ก็เก็บแบบ Compressed ใช้เเรงดันสูงมากๆ - ถังใน Toyota Mirai เก็บที่ 700 bar ในขณะที่ NGV เก็บที่ 200-250 bar)
3.) การขนส่ง (เหมือนข้อ 2)
4.) เครื่องยนต์ซับซ้อนมาก ต้องมี Air Compressor, Intercooler, Humidifier, Ion Exchanger, ฯลฯ เพิ่มเติมจาก EV ทั่วๆไป ซึ่งหลักๆมี Motor, Inverter, Battery (Power Loss สูง ประสิทธิภาพต่ำ , เเต่ดีกว่า ICE)
5.) ติดไฟไง, เก็บที่ความดันสูงมาก, ก็คือระเบิดดีๆนี่เอง
6.) Hydrogen มีดีเเค่เรื่องเดียวครับ คือ Energy Density (พลังงาน/น้ำหนัก), สูงกว่านี้ก็ Nuclear แล้ว

“เพิ่มเติมข้อ 2.) การทำ Hydrogen ให้เป็นของเหลวนั้น ใช้พลังงาน ~35% ของพลังงานที่มีอยู่ในตัว Hydrogen, ตรงนี้เป็นจุดที่ต่อให้เทคโนโลยีไปไกลเเค่ไหน ก็ทำให้ดีขึ้นไม่ได้ เพราะเป็นกฎอนุรักษ์พลังงาน”

ผมเคยศึกษากับอาจารย์ ที่มหาวิทยาลัย (มีข้อมูลเชิงตัวเลขครับ ผมยังเก็บไว้อยุ่ 55)
ทั้งผมทั้งอาจารย์ สรุปเป็นเสียงเดียวกันว่า ใช้ EV ธรรมดา เเล้วไปพัฒนา Battery กับพัฒนาโรงไฟฟ้าดีกว่า, ยิ่งเทคโนโลยี Molten Salt ใหม่มา อนาคตที่จะไปทางโรงไฟฟ้า Nuclear เห็นชัดมากขึ้น
ผมไม่เห็นด้วกับนิวโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ครับ รั่วมาอันตราย พื้นที่ตรงนั้นใช้การไม่ได้ไปแสนปี อีกทั้งประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างญี่ปุ่น เยอรมันพากันทะยอยเลิกใช้นิวเคลียร์ไปแล้ว

ใช่ ผมก็ไม่ได้เห็นด้วย เเต่ตอนนี้ก็ยังไม่เห็นอนาคตด้านพลังงาน นอกจาก Molten Salt Nuclear, พวกพลังงาน Renewable ก็ไม่พอมนุษย์ใช้ ไม่เสถียร รักษา Frequency ในระบบสายส่งไม่ได้ เก็บก็ไม่ได้ ไม่มี Battery ที่ดีพอ. เเต่ถ้าเทคโนโลยี Battery พัฒนาได้โหดกว่านี้, Renewable มีความหวังมากๆ (ซึ่งเป็นไปได้ยาก เพราะ Li-ion ก็พัฒนามาจะ เลเวล max อยุ่เเล้ว มี Energy Density (พลังงาน/น้ำหนัก) สูงสุดเเล้ว ถึงจะต่ำมากๆถ้าเทียบกับ fossil fuel ก็เถอะ, คงต้องเปลี่ยนรูปแบบการเก็บพลังงานไปเลย ไม่ใช่เก็บพลังงานกันประจุ ion อีกต่อไป)

เเต่ point ผมคือ: เอาไปพัฒนาที่โรงไฟฟ้า เเทนที่จะพัฒนาที่ตัวรถยนต์
โรงไฟฟ้าพลังงาน Hydrogen อาจจะฟังดูดีกว่า รถยนต์ Hydrogen

ถ้าพูดถึงการผลิตไฟฟ้า ก็คงไม่มีระบบไหนให้ผลิตแล้วกำลังไฟเสถียรเท่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เลยเนี่ยสิ อยู่ได้นานมากโดยไม่ต้องป้อนวัตถุดิบเพิ่มนอกจากน้ำเพื่อใช้ระบายความร้อน ซึ่งมีแค่ปัญหาเรื่องสารกัมมันตภาพรังสีที่คนส่วนใหญ่กลัว เมื่อเกิดการรั่วไหล นอกนั้นแทบจะไม่มีอะไรเลย แต่ถ้าศึกษาดีๆ และจัดการตามมาตรฐาน และตั้งในพื้นที่มั่นคง ไม่มีปัญหาด้านภัยธรรมชาติ ก็อยู่ได้ในระยะยาวจนแกนหมดสภาพ

ส่วนโรงไฟฟ้าแบบอื่นก็มีทั้งผลิตได้น้อยแต่ใช้พื้นที่มาก (Solar Cell, Wind), ผลิตได้ตลอดเวลาแต่ใช้พื้นที่มากและกระทบสิ่งแวดล้อม (เขื่อน) กับผลิตได้มากและใช้พื้นที่น้อยแต่ปล่อยมลภาวะ (ถ่านหิน, แก็ส, น้ำมัน)

ก็เหลือแค่ผลิตไฟฟ้าจากขยะและอาหารที่ทิ้งกันทุกวัน อย่างเช่นโรงไฟฟ้าขยะจากการเผาหรือการใช้ก็าซมีเทนจากขยะฝังกลบ แต่ก็มีผลกระทบกับสิ่งแวกล้อม แลกกับการลกปริมาณขยะที่ถูกฝังกลบหรือเผาทิ้งไปเปล่าๆ ที่ดูแล้วคุ้มค่าในระยะยาว ไม่ต้องไปนำเข้าวัตถุดิบมาผลิตไฟฟ้า เพราะสามารถเก็บขยะได้ทุกวัน

ออฟไลน์ CarameLon

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2,387
มันจะยากมากกว่ารถevครับ
เพราะไฮโดรเจนการเอามาใช้ในปริมาณมากเพียงพอกับรถยนตร์ต้องใช้ถังเก็บ
ที่รองรับกำลังอัดสูงมากกว่าพวกNGV-LPGหลายเท่า เสี่ยงระเบิดรุนแรงเมื่อรถชน
และหัวจ่ายเติมไฮโดรเจน จะทำยังไงให้เติมได้อย่างปลอดภัย ซีลอย่างไรระหว่างจุดตัดต่อก๊าซ
สุดท้ายทางเลือกอื่นอย่างevแท้ๆยังไงก็ดีกว่า
แต่กรรมวิธีกำจัดแบตเตอรี่ตอนนี้ยังไม่เจอวิธีไหนที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมนะ  8)
TOYOTA WISH SPORT 2.0>>>CRV-2.4L 4WD GEN3>>>TOYOTA Camry 2.4 2010>>>BMW 520 ตาเหยี่ยว>>>BMW X3 2011 >>>BMW 520D 2010 >>>BMW 525D ก่อน LCI >>>BMW 116i M-sport >>>BMW X1 2.0 S-drive 2016 >>>Mercedes GLA200 >>>Mercedes C Class C350e >>> BMW330e+BMWS1000R

ออฟไลน์ Gooddays1

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 11
ปลายทางอาจจะใช่ครับหรืออาจจะไม่ใช่ ถ้าเจอทางเลือกอื่นที่ง่ายกว่า ถ้าวิเคราะห์จากเทคโนโลยีปัจจุบันนะครับ

เพราะกระบวนการที่ใช้นำ H2 มาใช้ในรถยนต์มันซับซ้อนและยุ่งยาก ซ้ำร้ายกว่านั้นมลพิษรวมๆตั้งแต่เริ่มถึงเอารถมาวิ่งได้ อาจจะเยอะกว่ารถไฟฟ้าด้วยซ้ำ

และอย่าลืมว่าพลังงานไฟฟ้าที่จะเอามาแยก ได้มาจากไหน ที่ว่าการนำ H2 มาใช้ในรถยนต์ยุ่งยากเนื่องมาจาก

- H2 ต้องใช้ Storage tank ที่มีกระบวนการผลิตยุ่งยาก ต้องมีชั้นสุญญากาศอีก และยิ่งต้องอยู่ในยานพาหนะด้วยยิ่งต้องแข็งแรงสุดๆ แพงสุดๆ หนักสุดๆ

- กระบวนการแยก H2 ออกจาก H2O ด้วยพลังงานไฟฟ้าที่เยอะมากกกกก จะได้คาร์บอนจากการผลิตไฟฟ้าเพิ่มมาอีก

พอคำนวณออกมาอาจจะกลายเป็นว่า การผลิต H2 ให้รถถวิ่งได้ 100 km ได้มลพิษ มากกว่าไฟฟ้าวิ่งในระยะทางเท่ากันด้วยซ้ำ

- ระบบซับซ้อนกว่ารถ EV มาก และอาจจะซับซ้อนกว่า ICE ด้วยซ้ำ HFCEV ต้องมี Power train ของตัวเองที่ซับซ้อนโคตรๆ

แต่ปัจจุบันทาง Mitsubishi ก็กำลังมีการศึกษา/พัฒนา HFCEV ที่ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้าอยู่(ตัวบะเร่อ)ซึ่งตอนนี้ให้ประสิทธิภาพถึง 55%

ออฟไลน์ Gooddays1

  • Newbie
  • *
  • กระทู้: 11
ถ้าพูดถึงการผลิตไฟฟ้า ก็คงไม่มีระบบไหนให้ผลิตแล้วกำลังไฟเสถียรเท่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เลยเนี่ยสิ อยู่ได้นานมากโดยไม่ต้องป้อนวัตถุดิบเพิ่มนอกจากน้ำเพื่อใช้ระบายความร้อน ซึ่งมีแค่ปัญหาเรื่องสารกัมมันตภาพรังสีที่คนส่วนใหญ่กลัว เมื่อเกิดการรั่วไหล นอกนั้นแทบจะไม่มีอะไรเลย แต่ถ้าศึกษาดีๆ และจัดการตามมาตรฐาน และตั้งในพื้นที่มั่นคง ไม่มีปัญหาด้านภัยธรรมชาติ ก็อยู่ได้ในระยะยาวจนแกนหมดสภาพ

ส่วนโรงไฟฟ้าแบบอื่นก็มีทั้งผลิตได้น้อยแต่ใช้พื้นที่มาก (Solar Cell, Wind), ผลิตได้ตลอดเวลาแต่ใช้พื้นที่มากและกระทบสิ่งแวดล้อม (เขื่อน) กับผลิตได้มากและใช้พื้นที่น้อยแต่ปล่อยมลภาวะ (ถ่านหิน, แก็ส, น้ำมัน)

ก็เหลือแค่ผลิตไฟฟ้าจากขยะและอาหารที่ทิ้งกันทุกวัน อย่างเช่นโรงไฟฟ้าขยะจากการเผาหรือการใช้ก็าซมีเทนจากขยะฝังกลบ แต่ก็มีผลกระทบกับสิ่งแวกล้อม แลกกับการลกปริมาณขยะที่ถูกฝังกลบหรือเผาทิ้งไปเปล่าๆ ที่ดูแล้วคุ้มค่าในระยะยาว ไม่ต้องไปนำเข้าวัตถุดิบมาผลิตไฟฟ้า เพราะสามารถเก็บขยะได้ทุกวัน

คิดเหมือนกันเลยครับ หนำซ้ำ Nuclear power plant ปล่อย Carbon น้อยกว่ากระบวนการ Solar cell ซะอีก

ใจจริงผมอยากให้มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์บ้านเราด้วยซ้ำนะ อยากลองไปทำงานที่นั้นมั้ง 55555

ออฟไลน์ เนื้อน่องไม่หนัง

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1,692
ถ้าพูดถึงการผลิตไฟฟ้า ก็คงไม่มีระบบไหนให้ผลิตแล้วกำลังไฟเสถียรเท่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เลยเนี่ยสิ อยู่ได้นานมากโดยไม่ต้องป้อนวัตถุดิบเพิ่มนอกจากน้ำเพื่อใช้ระบายความร้อน ซึ่งมีแค่ปัญหาเรื่องสารกัมมันตภาพรังสีที่คนส่วนใหญ่กลัว เมื่อเกิดการรั่วไหล นอกนั้นแทบจะไม่มีอะไรเลย แต่ถ้าศึกษาดีๆ และจัดการตามมาตรฐาน และตั้งในพื้นที่มั่นคง ไม่มีปัญหาด้านภัยธรรมชาติ ก็อยู่ได้ในระยะยาวจนแกนหมดสภาพ

ส่วนโรงไฟฟ้าแบบอื่นก็มีทั้งผลิตได้น้อยแต่ใช้พื้นที่มาก (Solar Cell, Wind), ผลิตได้ตลอดเวลาแต่ใช้พื้นที่มากและกระทบสิ่งแวดล้อม (เขื่อน) กับผลิตได้มากและใช้พื้นที่น้อยแต่ปล่อยมลภาวะ (ถ่านหิน, แก็ส, น้ำมัน)

ก็เหลือแค่ผลิตไฟฟ้าจากขยะและอาหารที่ทิ้งกันทุกวัน อย่างเช่นโรงไฟฟ้าขยะจากการเผาหรือการใช้ก็าซมีเทนจากขยะฝังกลบ แต่ก็มีผลกระทบกับสิ่งแวกล้อม แลกกับการลกปริมาณขยะที่ถูกฝังกลบหรือเผาทิ้งไปเปล่าๆ ที่ดูแล้วคุ้มค่าในระยะยาว ไม่ต้องไปนำเข้าวัตถุดิบมาผลิตไฟฟ้า เพราะสามารถเก็บขยะได้ทุกวัน

คิดเหมือนกันเลยครับ หนำซ้ำ Nuclear power plant ปล่อย Carbon น้อยกว่ากระบวนการ Solar cell ซะอีก

ใจจริงผมอยากให้มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์บ้านเราด้วยซ้ำนะ อยากลองไปทำงานที่นั้นมั้ง 55555

นิวเคลียนี้เอาจริงๆ หลายคนอยากให้มีนะผมว่า แต่ไม่อยากให้อยู่ใกล้ตัวเอง ซึ่งถ้าหาที่จริงๆ คงยากมากๆ นอกจากไปอยู่ตามเกาะ
บางที่ขนาดเอาโทรศัพท์ยังไม่เอาเลย

ออฟไลน์ LapisLazuli

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 285
    • อีเมล์
ถ้าพูดถึงการผลิตไฟฟ้า ก็คงไม่มีระบบไหนให้ผลิตแล้วกำลังไฟเสถียรเท่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เลยเนี่ยสิ อยู่ได้นานมากโดยไม่ต้องป้อนวัตถุดิบเพิ่มนอกจากน้ำเพื่อใช้ระบายความร้อน ซึ่งมีแค่ปัญหาเรื่องสารกัมมันตภาพรังสีที่คนส่วนใหญ่กลัว เมื่อเกิดการรั่วไหล นอกนั้นแทบจะไม่มีอะไรเลย แต่ถ้าศึกษาดีๆ และจัดการตามมาตรฐาน และตั้งในพื้นที่มั่นคง ไม่มีปัญหาด้านภัยธรรมชาติ ก็อยู่ได้ในระยะยาวจนแกนหมดสภาพ

ส่วนโรงไฟฟ้าแบบอื่นก็มีทั้งผลิตได้น้อยแต่ใช้พื้นที่มาก (Solar Cell, Wind), ผลิตได้ตลอดเวลาแต่ใช้พื้นที่มากและกระทบสิ่งแวดล้อม (เขื่อน) กับผลิตได้มากและใช้พื้นที่น้อยแต่ปล่อยมลภาวะ (ถ่านหิน, แก็ส, น้ำมัน)

ก็เหลือแค่ผลิตไฟฟ้าจากขยะและอาหารที่ทิ้งกันทุกวัน อย่างเช่นโรงไฟฟ้าขยะจากการเผาหรือการใช้ก็าซมีเทนจากขยะฝังกลบ แต่ก็มีผลกระทบกับสิ่งแวกล้อม แลกกับการลกปริมาณขยะที่ถูกฝังกลบหรือเผาทิ้งไปเปล่าๆ ที่ดูแล้วคุ้มค่าในระยะยาว ไม่ต้องไปนำเข้าวัตถุดิบมาผลิตไฟฟ้า เพราะสามารถเก็บขยะได้ทุกวัน

คิดเหมือนกันเลยครับ หนำซ้ำ Nuclear power plant ปล่อย Carbon น้อยกว่ากระบวนการ Solar cell ซะอีก

ใจจริงผมอยากให้มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์บ้านเราด้วยซ้ำนะ อยากลองไปทำงานที่นั้นมั้ง 55555

นิวเคลียนี้เอาจริงๆ หลายคนอยากให้มีนะผมว่า แต่ไม่อยากให้อยู่ใกล้ตัวเอง ซึ่งถ้าหาที่จริงๆ คงยากมากๆ นอกจากไปอยู่ตามเกาะ
บางที่ขนาดเอาโทรศัพท์ยังไม่เอาเลย

เเต่ข้อดีของมัน คือ มันใช้พื้นที่น้อย ใช้เเค่ไม่กี่โรง ก็ได้ MW มหาศาลเเล้ว

อย่าอยากไปลองทำงาน โรงไฟฟ้า เลยครับ 55

ผมเคยทำงานที่โรงไฟฟ้าแบบ Combined Cycle, ประเภท GT ST คนละ Shaft.
หนีออกมาแล้ว..... เคยได้ไป operate ระบบ feed Sulfuric Acid 98% เพื่อบำบัด Cooling Tower, บอกกับตัวเองเลย ไปหางาน office แอร์เย็นๆทำดีกว่า รั่วมาทีนี่เหลือเเต่กระดูกแน่นอน (ระบบนี้ใน Nuclear ก็มี, Nuclear ปกติก้อใช้ Steam Turbine, Condenser, Cooling Tower เหมือนกันครับ)

ออฟไลน์ BN`

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2,073
ผมมองว่าอยู่ที่แนวโน้มของตลาดโลกมากกว่าครับ ว่าจะมุ่งเน้นไปที่ Hydrogen หรือ EV มากกว่ากัน ณ ปัจจุบันคงจะยังสรุปไม่ได้

ออฟไลน์ คุณ นมๆ

  • Sr. Member
  • ****
  • กระทู้: 715
มุมมองของผมนะครับ
ถ้าจะไปเทรนนั้นก็ควรจะไปซะตั้งตอนนี้ หรือตอนนี้ก็อาจจะช้าไปแล้ว เพราะถ้ายิ่งรอนานเข้าจะทุกภาึส่วนก็จะลงทุนไปกับรถEVมากขึ้น ตู้ชาร์จ โรงไฟฟ้าเพิ่ม วิจัยทำแบตหรือระบบมอเตอร์ ถ้ามันถึงตอนนั้นก็ไม่มีใครอยากจะทิ้งที่ลงทุนไว้มากหรอก

ออฟไลน์ deertesla

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 4,245
ถ้าพูดถึงการผลิตไฟฟ้า ก็คงไม่มีระบบไหนให้ผลิตแล้วกำลังไฟเสถียรเท่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เลยเนี่ยสิ อยู่ได้นานมากโดยไม่ต้องป้อนวัตถุดิบเพิ่มนอกจากน้ำเพื่อใช้ระบายความร้อน ซึ่งมีแค่ปัญหาเรื่องสารกัมมันตภาพรังสีที่คนส่วนใหญ่กลัว เมื่อเกิดการรั่วไหล นอกนั้นแทบจะไม่มีอะไรเลย แต่ถ้าศึกษาดีๆ และจัดการตามมาตรฐาน และตั้งในพื้นที่มั่นคง ไม่มีปัญหาด้านภัยธรรมชาติ ก็อยู่ได้ในระยะยาวจนแกนหมดสภาพ

ส่วนโรงไฟฟ้าแบบอื่นก็มีทั้งผลิตได้น้อยแต่ใช้พื้นที่มาก (Solar Cell, Wind), ผลิตได้ตลอดเวลาแต่ใช้พื้นที่มากและกระทบสิ่งแวดล้อม (เขื่อน) กับผลิตได้มากและใช้พื้นที่น้อยแต่ปล่อยมลภาวะ (ถ่านหิน, แก็ส, น้ำมัน)

ก็เหลือแค่ผลิตไฟฟ้าจากขยะและอาหารที่ทิ้งกันทุกวัน อย่างเช่นโรงไฟฟ้าขยะจากการเผาหรือการใช้ก็าซมีเทนจากขยะฝังกลบ แต่ก็มีผลกระทบกับสิ่งแวกล้อม แลกกับการลกปริมาณขยะที่ถูกฝังกลบหรือเผาทิ้งไปเปล่าๆ ที่ดูแล้วคุ้มค่าในระยะยาว ไม่ต้องไปนำเข้าวัตถุดิบมาผลิตไฟฟ้า เพราะสามารถเก็บขยะได้ทุกวัน

คิดเหมือนกันเลยครับ หนำซ้ำ Nuclear power plant ปล่อย Carbon น้อยกว่ากระบวนการ Solar cell ซะอีก

ใจจริงผมอยากให้มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์บ้านเราด้วยซ้ำนะ อยากลองไปทำงานที่นั้นมั้ง 55555

นิวเคลียนี้เอาจริงๆ หลายคนอยากให้มีนะผมว่า แต่ไม่อยากให้อยู่ใกล้ตัวเอง ซึ่งถ้าหาที่จริงๆ คงยากมากๆ นอกจากไปอยู่ตามเกาะ
บางที่ขนาดเอาโทรศัพท์ยังไม่เอาเลย
มันไม่ควรมีครับ  อันตรายจากรังสี  พอโรงงานปลดระวางพื้นที่ตรงนั้นคือใช้อะไรไม่ได้เลย   คนที่อยากให้มีนี่คงไม่เคยดูหรืออ่านเรื่องโรงไฟฟ้าเชอร์นาบิวแน่เลย  หรือไม่เคยเห็นข่าวโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ญี่ปุ่น  จนประเทศเค้าชดละเลิกไฟฟ้านิวเคลียร์ไปหลายโรงแล้ว